Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7874
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ พุฒตาล, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T07:39:19Z-
dc.date.available2023-07-17T07:39:19Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7874-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการทหารในสังกัดกรมแพทย์ทหารบก (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการทหารในสังกัดกรมแพทย์ทหารบกจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัจจัยด้านองค์การของข้าราชการทหารใน สังกัดกรมแพทย์ทหารบก (4) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านองค์การกับความผูกพันต่อองค์การ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใฃ้ในการศึกษา คือ ข้าราชการทหาร สังกัดกรมแพทย์ทหารบก โดยมีประชากรทั้งสิ้น 460 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างคำนวณตามสูตรของยามาเน่ จำนวน 214 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม แบบมาตรค่าของลิเคิร์ท การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ตามวิธี แอลเอสดี และการทดสอบความสัมพันธ์โดยการหาค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการทหารในสังกัดกรมแพทย์ ทหารบก โดยภาพรวมอยู่ในระดับผูกพันมาก โดยปัจจัยด้านความด้านความเชื่อมั่นในการยอมรับเป้าหมาย และค่านิยมขององค์การมากที่สุด และด้านการมีส่วนร่วมน้อยที่สุด (2) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นปัจจัย ด้านลักษณะบุคคลที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การ พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มี อายุ และระดับการศึกษา ที่แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นความผูกพันต่อองค์การ โดยภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัจจัยด้านองค์การ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ปัจจัยทุกปัจจัยอยู่ในระดับส่งผลต่อ ความผูกพันมาก โดยปัจจัยด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติมากที่สุด และด้านโอกาสที่ได้รับ น้อยที่สุด (4) ปัจจัยด้านองค์การ มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การ โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ไปในทิศทาง เดียวกัน อยู่ในระดับสูงมาก อย่างมีนัยสำคัญที่ 0.01 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ปัจจัยองค์การ ด้านค่าตอบแทน/สวัสดิการ ด้านความสัมพันธ์ในองค์การ ด้านคุณภาพชีวิตในการทำงาน ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านภาวะผู้นำของหัวหน้างานและผู้บริหาร มีระดับความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูง ส่วนปัจจัยองค์การด้านโอกาสที่ได้รับ ด้านวัฒนธรรมองค์การ มีระดับความสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectกรมแพทย์ทหารบก--ข้าราชการth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการทหารในสังกัดกรมแพทย์ทหารบกth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the commitment of government officials in the Army Medical Departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed : (1) to study the level of commitment of government officials in the Army Medical Department. (2) to compare the attitude of government officials to commitment by using personal factors. (3) to study the operational factors of government officials in the Army Medical Department. (4) to study the relationship between organization factors and commitment. This study was a survey research. The population were 460 government officials in the Army Medical Department. The 214 samples were calculated using Yamane formula. The research instruments for gathering data were questionnaires and Likert scale. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, one way ANOVA , LSD and Pearson Correlation. The results revealed that : (1) overall the level of commitment was a high level. The confidence in organization goal and value factor showed the highest while the participation factor showed the lowest. (2) By comparing the attitude relating to commitment of government officials based on the personal factors, the results reported that the difference in opinion.(3) Overall the commitment was influenced by the operation factors. The feature of work showed the highest relation while the opportunity of work showed the lowest. (4) The operation factors showed the high positive relation to commitment, at the 0.01 level of significance. By considering in each aspect, the results reported that the factors showed high relation to commitment were compensation, organization relationship, work life quality, work feature,and leadership, the rest was neutral , work opportunity and, organization culture.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151905.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons