Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorละอองดาว ต้อนรับ, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T07:40:09Z-
dc.date.available2023-07-17T07:40:09Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7875-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องยุทธศาสตร์การดำเนินงานของสำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดตาก มีวัตถุประสงค์ เพื่อ(1) ศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดตาก (2) เสนอยุทธศาสตร์กลยุทธ์ในการดำเนินงานของสำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดตาก รูปแบบการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ศึกษาได้แก่ข้าราชการของสำนักงาน วัฒนธรรม จังหวัดตาก จำนวนทั้งสิ้น 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง โดยผู้วิจัยเป็นผู้สัมภาษณ์ด้วยตนเอง และการเก็บข้อมูลโดยใช้วิธีการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการ วิเคราะห์เนื้อหาโดยการวิเคราะห์สรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเอกสารและข้อมูลภาคสนามจากการสัมภาษณ์และ ประเด็นการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพแวดล้อมของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดตากมีจุดแข็งคือ เป็นหน่วยงานที่มีโครงสร้างการทำงานที่เป็นระบบมีศักยภาพ และความพร้อมในการทำงาน จุดอ่อนคือ การให้บริการมีพื้นที่รับผิดชอบกว้างผู้ให้บริการมีจำนวนน้อย และมีภาระงานอื่นร่วมหลายด้าน ด้านโอกาสนโยบายของรัฐบาลให้การ สนับสนุนงานวัฒนธรรมหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานภาคเอกชนให้ความร่วมมือในการพัฒนาองค์กรภาครัฐให้มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการของประชาชนด้านอุปสรรค นโยบายทางการเมือง และนโยบายของผู้บริหารมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ส่งผลต่อแผนงานประจำของหน่วยงาน (2) ข้อเสนอยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ในการดำเนินงานขอสำวัฒนธรรมจังหวัดตากประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ 10 กลยุทธ์ ดังนี้ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบริหารแบบบูรณาการสู่การพัฒนางานด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) การพัฒนาระบบบริหารองค์กรให้มีประสิทธิภาพ 2) การบูรณาการงานด้านศาสนา ศิลปะ และ วัฒนธรรม ร่วมกับทุกภาคส่วน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาบริการงานด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมให้มีคุณภาพและทั่วถึง ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) การเพิ่มคุณภาพของระบบบริการ 2) การสนับสนุนและพัฒนาศูนย์กลางในการให้บริการงานด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่นยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมและพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ได้แก่ 1) การส่งเสริมและการพัฒนาการองค์ความรู้ให้กับเครือข่าย สภาวัฒนธรรม 2) การค้นหาและสร้างเครือข่ายรายใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในการให้บริการ และการเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศระบบข้อมูลการบริการ 2) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตอบสนองต่อการให้บริการของประชาชน และยุทธศาสตร์ที่ 5 การบริหารจัดการที่ดี ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) การส่งเสริม และการพัฒนาองค์ความรู้ 2) เสริมสร้างและพัฒนาระบบการบริหารองค์กรตามหลักธรรมาภิบาลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดตาก--การบริหารth_TH
dc.titleยุทธศาสตร์การดำเนินงานของสำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดตากth_TH
dc.title.alternativeStrategies for operations of the Tak Provincial Office of Cultureen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to (1) analyze the environments of the Tak Provincial Office of Culture (2) propose strategies and tactics for the operation of the Tak Provincial Office of Culture. The study was qualitative research. Population was 18 officials of the Tak Provincial Office of Culture. Research instrument was the structured interview form and collected data by the researcher himself. Data was collected by means of focus group. Qualitative data from secondary sources, interviewing and focus group was analyzed by using content analysis method. The result showed that: (1) environments of the Tak Provincial Office of Culture concluded that strength was a systemic structural work process which was ready, the weaknesses were service area was vast with a wide range of responsibilities, service providers were few in number and had to share a large workload amongst themselves, the opportunities were governmental policies supported cultural activities as well as the mutual cooperation of governmental agencies with local governments and private sectors was good and develop efficiently and met the needs of the people, in terms of threats, they were political policies and administrators’ policy often changed and affected the operational plan of the agency. (2) five recommended strategies and ten tactics of operations of the Tak Provincial Office of Culture comprised of: Strategy No.1. the integrated management towards the development of religion, art and culture. This strategy comprised of tactic 1: efficient organizational administrative system development and tactics 2: religion-ArtCulture integration from all sectors, Strategy No2. the development of services for the promotion of religion, art, culture, quality, and thoroughness. This strategy comprised of tactic 1: increase of service system tactic 2: support and center development for local religion, art and culture. Strategy No.3: promotion and network participation development This strategy comprised of tactic 1: promotion and knowledge development of cultural networks and tactic 2: finding and network building. Strategy No.4. information technology development for services and cultural awareness. This strategy comprised of tactic 1: information system development, tactic 2: public service information technology development, Strategy No.5: promotion of sound management policies. This strategy comprised of tactic 1: knowledge promotion and development and tactic 2: promote and organizational administration development according to good governance principlesen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151885.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons