Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7885
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประไพพักตร์ พิพิธกุล, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T08:05:04Z-
dc.date.available2023-07-17T08:05:04Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7885-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุดในส่วนกลาง (2) เปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุดในส่วนกลาง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาปัญหาและเสนอแนะแนวทางเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุดในส่วนกลาง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรได้แก่ ข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุด จำนวน 919 คน กลุ่มตัวอย่าง 279 คน คำนวณจากสูตรของทาโร่ ยามาเน สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิตที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าทีค่าเอฟ และทดสอบความแตกต่าง เป็นรายคู่ ด้วยวิธีนัยสำคัญต่ำสุด ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า (1) ข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุดในส่วนกลางมีคุณภาพชีวิตในระดับดี (2) ผลการเปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุดในส่วนกลางพบว่าผู้ที่มี เพศ อายุ รายได้ต่อเดือน ระดับการศึกษา ที่ต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทำงานแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ส่วนผู้ที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานและมีสังกัดที่ปฏิบัติงานแตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกัน (3) ปัญหาสำคัญได้แก่ ปัญหาด้าน ค่าตอบแทน โดยเฉพาะความล่าช้าในการแจ้งผลการประเมินการปฏิบัติงานซึ่งส่งผลต่อความล่าช้าในการเลื่อนขั้นเลื่อนเงินเดือน ข้อเสนอแนะสำคัญคือ หน่วยงานควรปรับปรุงระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานโดยเฉพาะขั้นตอนการแจ้งผลการประเมินแก่บุคลากร โดยพิจารณาตัดกิจกรรมที่ไม่มีมูลค่าเพิ่ม เพื่อให้กระบวนการมีความรวดเร็วขึ้นชื่อการศึกษาค้นคว้าอิสระ คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุด ในส่วนกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานอัยการสูงสุด--ข้าราชการและพนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุดในส่วนกลางth_TH
dc.title.alternativeQuality of worklife of Administration Officials in the Central Office of the Attorney Generalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were to (1) study the quality of work life of the administration officials in The Central Office of The Attorney General (2) compare the level of quality of work life of the administration officials in The Central Office of The Attorney General (3) study the problem and recommendations to enhance the quality of work life of the administration officials in The Central Office of The Attorney General. This study was a survey research. The population was an administration officials in The Central Office of The Attorney General for 919 people. The sample size was 279 people that determined by a formula of Taro Yamane. The sampling method was stratified sampling. Questionnaires were used as a tool collecting data. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test, f-Test and ANOVA for minimum significant with the significant differences by 0.05 level. The study revealed the followings: (1) the administration officials in The Central Office of The Attorney General had the quality of work life at good level (2) the comparison level of quality of work life of the administration officials in The Central Office of The Attorney General was found that the different of gender, age, monthly income, education level had the quality of work life difference with the significant differences at 0.05 however, the different of operation period and subordination had the same quality of work life (3) the important problem was the compensation problem especially the informing delay in the performance evaluation which affected the salary increasing, although, the important recommendation was improved the authority’s evaluation system, especially the steps to inform the evaluation results which considered to cut an activities without additional value for speed up the processen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext152100.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons