Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัชนี สาแก้ว, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T08:35:59Z-
dc.date.available2023-07-17T08:35:59Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7895-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการกำหนดแนวทางในการ บริหารอัตรากำลังสายงานพยาบาลวิชาชีพของโรงพยาบาลชุมชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา และ ( 2) สถานการณ์การบริหารอัตรากำลังสายงานพยาบาลวิชาชีพของโรงพยาบาลชุมชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบรวมทั้งการหาค่า ความเที่ยงตรง และความน่าเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.862 ดำเนินการเก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 1 มกราคม–30 เมษายน 2556 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จำนวนทั้งหมด 251 คน ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติงาน ในตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพของโรงพยาบาลชุมชน 5 แห่ง คือ โรงพยาบาลจุน โรงพยาบาลเชียงม่วน โรงพยาบาลดอกคำใต้ โรงพยาบาลปง และโรงพยาบาลแม่ใจ ได้รับข้อมูลแบบสอบถามที่สามารถใช้ได้ จำนวน 240 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 95.62 ของแบบสอบถามทั้งหมด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์ เนื้อหาตามข้อเท็จจริงของข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการกำหนดแนวทางบริหารอัตรากำลังสายงานพยาบาลวิชาชีพของโรงพยาบาลชุมชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา คือ ปัจจัยด้านนโยบายโดยภาพรวมมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารอัตรากำลังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันเท่ากับ r = 0.321 ปัจจัยด้านองค์กรและการจัดการโดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารอัตรากำลังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันเท่ากับ r = 0.620 และ ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมโดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหาร อัตรากำลังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 และ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันเท่ากับ r = 0.335 และ (2) สถานการณ์การบริหาร อัตรากำลังสายงานพยาบาลวิชาชีพของโรงพยาบาลชุมชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา พบว่า หน่วยงานยังมีปัญหาเรื่องการจัดบุคลากรไม่เหมาะสมกับงาน ความรู้ ความสามารถ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรน้อย เนื่องจากภาระงานมาก การจ่ายค่าตอบแทนไม่เหมาะสมเมื่อเทียบกับปริมาณงาน และมีการบริหารบุคลากรโดยใช้ระบบอุปถัมภ์ข้อเสนอแนะควรให้หน่วยงานมีการจัดทำแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลโดยเปิดโอกาส ให้บุคลากรมีส่วนร่วมครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน คือ การจัดบุคลากรเข้าท างาน การพัฒนากาลังคน การจูงใจ และ การบำรุงรักษาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพยาบาล--อัตรากำลังth_TH
dc.titleการบริหารอัตรากำลังสายงานพยาบาลวิชาชีพ : โรงพยาบาลชุมชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยาth_TH
dc.title.alternativeManpower administration in nursing profession : a case study of Community Hospitals, Phayao Provincial Health Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study aimed to study: (1) variables factors that related to Manpower Administration in Nursing Profession (MANP) of community hospitals, Phayao Provincial Health Office; and (2) the current circumstance of manpower administration in nursing profession of community hospitals, Phayao Provincial Health Office. The research used a survey questionnaire which is 0.862 approved on validity and reliability. The data was collected during 1 January 2013 up to 30 April 2013. The population was 251 employees who worked as nursing profession of Chun hospital, Chiang Muan hospital, Dokkhamtai hospital, Pong hospital and Mea Jai hospital. The response rate of 95.62% or 240 employees was obtained. Frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s Product Moment Correlation, and content analysis were employed in this analysis. The study found that: (1) there were three relevant variables analyzed by Pearson’s Product Moment Correlation and affected to assign manpower administration guidelines were namely; policy, organization and management, and environment. In the overview of policy factors had positive relationship with manpower administration at r = 0.321 with 0.01 level of statistical significance. For organization design and management aspect, it was found positive relationship with manpower administration at r = 0.620 with 0.01 level of statistical significance. Environmental factors, it performed positive relationship with manpower administration at r = 0.335 with 0.05 and 0.01 level of statistical significance; and (2) the circumstance of manpower administration in nursing profession was shown that there were some problems occurred such as inappropriate placement, spoil system recruitment, less personnel development, unbalanced compensation, unfocused on work motivation and lack of team working. The findings from this study could be served as guideline for the Phayao Provincial Health Office in planning and assignment clearly and fairly in all 4 components; i.e. recruitment, motivation, development and maintenanceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_137485.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons