Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสงth_TH
dc.contributor.authorพรรณี ศรีวาณิชย์พุฒิ, 2502-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T08:50:59Z-
dc.date.available2023-07-17T08:50:59Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7900en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาลักษณะทั่วไปของผู้ใช้บริการสินเชื่อเพื่อผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการสินเชื่อเพื่อผู้บริโภคของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจและปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการใช้บริการสินเชื่อเพื่อผู้บริโภคของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยได้จากการสุ่มตัวอย่าง โดยขนาดตัวอย่างกำหนดที่ ระดับความเชื่อมั่น 0.95 ได้จำนวนตัวอย่างประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งหมด 50 เขต จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้เแก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสหสัมพันธ์ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า (1) ลักษณะทั่วไปของประชากร ด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพอาชีพและรายได้ที่แตกต่างกันจะมีพฤติกรรมการใช้สินเชื่อเพื่อผู้บริโภค ทั้งที่ไม่แตกต่างกันและแตกต่างกัน(2) พฤติกรรมการใช้บริการสินเชื่อเพื่อผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ที่นิยมใช้มากที่สุด คือ บัตรสินเชื่ออิออน ประเภทสินเชื่อผ่อนชำระ การใช้สินเชื่อเพื่อผู้บริโภคในการซื้อสินค้า และบริการในห้างสรรพสินค้าเป็นการซื้อสินค้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า รองลงมาเป็นการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคและโทรศัพท์มือถือระยะเวลาที่ใช้ในการผ่อนชำระประมาณ 1 ปี ซึ่งในแต่ละเดือนจะมีการใช้บริการสินเชื่อเพื่อผู้บริโภค 1-5 ครั้ง จำนวนวงเงินที่เลือกใช้ในการผ่อนชำระตั้งแต่ 10,001 – 15,000. บาท (3) ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจกับปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการใช้บริการสินเชื่อเพื่อผู้บริโภคของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร ทำให้ทราบว่าปัจจัยส่วนประสมการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่ายและการส่งเสริมการตลาดมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการใช้บริการสินเชื่อเพื่อผู้บริโภคth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสินเชื่อ--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectสินเชื่อเพื่อผู้บริโภค--การบริการth_TH
dc.titleพฤติกรรมการใชับริการสินเชื่อเพื่อผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeConsumer credit usage behavior in Bangkok metropolitan areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) survey of general data of Credit Consumers in Bangkok Metropolitan area (2) differentiate the behaviors of those in Bangkok Metropolitan area and (3) identifying significance of the relation of satisfaction and marketing mix , resulting in Consumers’ Decisions. Research methodology was defined to be survey research from which Study Groups emerged by Stratified Random sampling. Sampling Confidence was standardized at a percentage of 0.95 covering sample groups of 400 consumers in 50 Districts of Bangkok. Data were statistically analyzed by percentage, average, standard deviation and co-efficiency processed by Computer Statistical Data Processing Program. General data of sample populations reached the conclusion that (1) differences of sex, age, educational background, status, career, incomes influenced both different and non-different credit consuming behaviors. (2) the Sample groups’ most favorite was Aeon credit card a type of hire-purchase for buying Department Stores’ service and goods, mostly Electrical Appliances, followed by consumer products and mobile phones, with payment schedules around 1 year. The Consumers will use credit for consuming goods 1-5 times for a month within a credit limit of 10,001 – 15,000 Baht. (3) identifying significance of the relation of significance and marketing mix, with consumers decisions found that market mix activities concerning products, prices, place and promotion were positively related to Credit Consuming Behaviors.en_US
dc.contributor.coadvisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณth_TH
dc.contributor.coadvisorสมจิตร ล้วนจำเริญth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82223.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons