Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7917
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยานี ภาคอัตth_TH
dc.contributor.authorธนะชัย องค์ธนะสุข, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-18T04:07:03Z-
dc.date.available2023-07-18T04:07:03Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7917en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์ความมั่นคงทางการเงินของสถาบันการเงินในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (2) วัดความมั่นคงทางการเงินของสถาบันการเงินในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (3) ระบุปัจจัยด้านอัตราส่วนทางการเงินที่มีผลต่อความมั่นคงของสถาบันการเงินในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยเป็นข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งเก็บรวบรวมจากงบการเงินของสถาบันการเงิน 20 แห่ง ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยระหว่างปี 2541 - 2545 เครื่องมือทางการเงินที่ใช้ในการวิจัยเพื่อวิเคราะห์และวัดความมั่นคงทางการเงินของสถาบันการเงิน รวมทั้งระบุปัจจัยด้านอัตราส่วนทางการเงินที่มีอิทธิพลต่อความมั่นคงของสถาบันการเงินในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คือ เทคนิคการวิเคราะห์สถาบันการเงินที่เรียกว่า CAMEL และการสร้างแบบ Z-Score Model ผลการวิจัยโดยใช้การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินและการวัดความมั่นคงของสถาบันการเงินพบว่าความมั่นคงของสถาบันการเงินในช่วงปี 2541-2545 ค่อนข้างตํ่า กล่าวคือ ทั้งธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุนมีเงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้อยู่เป็นจำนวนสูง ทำให้ผลการดำเนินงานในช่วงเวลาดังกล่าวเกิดผลขาดทุนและส่งผลกระทบต่อการเสื่อมค่าของฐานะเงินกองทุน จนนำไปสู่การเพิ่มทุนในช่วงปี 2541-2543 ยิ่งไปกว่านั้นในปี 2541 มีธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุนจำนวน 7 แห่ง หรือเท่ากับร้อยละ 35 ของสถาบันการเงินทั้งหมด 20 แห่ง มีฐานะเงินกองทุนที่อ่อนแอและ/หรือตํ่ากว่ากฎหมายกำหนด ส่วนปี 2542-2545 แม้ฐานะเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุนจะเริ่มมีความมั่นคงทางการเงินดีขึ้นจากเดิมก็ตามแต่ก็พบว่าเงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ยังเป็นปัญหาหลักที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไข อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญและมีอิทธิพลต่อความมั่นคงของสถาบันการเงินในช่วงปี 2541-2545 คือ อัตราส่วนที่เกี่ยวข้องกับเงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยth_TH
dc.subjectสถาบันการเงิน--ไทยth_TH
dc.subjectความมั่นคงทางการเงินth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ความมั่นคงของสถาบันการเงินในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : พ.ศ. 2541-2545th_TH
dc.title.alternativeAnalysis of the financial stability of financial institutions in the stock exchange of Thailand : BE 2541-2545en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) analyse the financial stability of financial institutions in the Stock Exchange of Thailand (SET) (2) measure the financial stability of financial institutions in the SET (3) identify the financial ratio affecting the stability of financial institutions in the SET. The data in this study are the secondary data collected from audited financial statements of 20 financial institutions in the Stock Exchange of Thailand from the period 1998 through 2002. The CAMEL and the Z-Score Model are utilized to analyse and measure the financial stability of financial institutions in the SET. These financial tools are also used to identify the financial ratio influencing the stability of those financial institutions The research results using financial ratio analysis and financial institutions' stability measurement revealed that the stability of financial institutions during the year 1998 to 2002 is relatively low. In other words, the financial statements of both commercial banks and finance companies included the high non-performing loans. Consequently, those finClncial institutions cannot earn profit in that period. Their fund position seen to be weak and require capital raising during the period 1998 to 2000. Moreover, in the year 1998, 7 out of20 financial institutions, or 35 percent, faced the non-performing loan problem, resulting in the weakness of the fund or the fund becomes lower than the level stipulated by the related laws. For the year 1999 to 2002, although the fund position of commercial banks and finance companies are gradually stable the non-performing loans are still the major problem and needed to be improved. The key financial ratio influencing the stability of financial institutions in the year 1998 to 2002 is the ratio related to non-performing loans.en_US
dc.contributor.coadvisorยุวดี ไชยศิริth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83670.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons