Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชุลีพร รัมยะรังสิ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-18T04:19:51Z-
dc.date.available2023-07-18T04:19:51Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7921-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล (2) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และ (4) เสนอแนวทางการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตในการทำงานเพื่อให้เกิดความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร ได้แก่ บุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 80 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรคณะเวชศาสตร์ เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความภาคภูมิใจที่มีต่อองค์การมีค่าเฉลี่ยในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีภายในองค์การ และด้านการให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมและเพียงพอต่อการครองชีพ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด (2) ระดับความผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ความผูกพันต่อองค์การด้านบรรทัดฐาน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือความผูกพันด้านความคงอยู่ และความผูกพันด้านจิตใจ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด (3) คุณภาพชีวิตในการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับความผูกพันต่อองค์การ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 และ (4) แนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตในการทำงานเพื่อให้เกิดความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ได้แก่ ควรส่งสริมให้บุคลากรมีความก้าวหน้าในอาชีพให้โอกาสบุคลากรได้พัฒนาศักยภาพและความสามารถ และการมีอิสระ เพิ่มความยืดหยุ่นในการทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดลth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between quality of work life and Organizational Commitment of the Personnel of Faculty of Tropical Medicine, Mahidol Universityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study level of quality of work life of the personnel of Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University (2) to study level of organizational commitment of the personnel of Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University (3) to study the relationship between Quality of Work Life and Organizational Commitment of the Personnel of Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University, and (4) to recommend guidelines for quality of work life promotion to uplift the organizational commitment of the personnel of Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University. This study was a quantitative research. The population was 810 personnel of Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University. The sample size was determined by using Taro Yamane formula and obtained 267 samples. Research instrument was a questionnaire. Statistics for data analysis employed frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson product moment correlation coefficient. The findings indicated that (1) an overview of level of quality of work life of the personnel of Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University showed at high level. Considering each aspect, it was found that the pride in the organization was at the highest mean, followed by building the good relationship and the lowest mean was receiving appropriate compensation (2) an overview of level of organizational commitment was at high level. Considering each aspect, it showed that was norm was at the highest mean, followed by retention aspect, whereas the deep bond found the lowest mean (3) quality of work life and organizational commitment has positively correlated at statistically significant at 0.01 level, and (4) the guidelines for quality of work life promotion to uplift the organizational commitment of the personnel of Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University were to promote career path, to broaden knowledge and capacity and to create flexibility in worken_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161937.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons