Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7928
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวลัญช์ โรจนพลth_TH
dc.contributor.authorพรเทพ กุลเสวตต์, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-18T06:02:06Z-
dc.date.available2023-07-18T06:02:06Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7928en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) บทบาทของสมาชิกกองอาสารักษาดินแดนต่อการสนับสนุนการปฏิบัติงานของทหารและตำรวจในพื้นที่จังหวัดปัตตานี (2) ปัญหาและอุปสรรคของกองอาสารักษาดินแดนต่อการสนับสนุนการปฏิบัติงานของทหารและตำรวจในพื้นที่จังหวัดปัตตานี (3) แนวทางแก้ไขปัญหาของกองอาสารักษาดินแดนต่อการสนับสนุนการปฏิบัติงานของทหารและตำรวจในพื้นที่จังหวัดปัตตานี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างเฉพาะเจาะจงจากจำนวนประชากร 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสมาชิกกองอาสารักษาดินแดน กลุ่มผู้บังคับบัญชา สมาชิกกองอาสารักษาดินแดน กลุ่มผู้บังคับบัญชาฝ่ายทหาร กลุ่มผู้บังคับบัญชาฝ่ายตำรวจ และกลุ่มประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 14 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาและการวิจัยเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทของสมาชิกกองอาสารักษาดินแดนต่อการสนับสนุนการปฏิบัติงานของทหารและตำรวจในพื้นที่จังหวัดปัตตานี มี 4 บทบาท ได้แก่ 1) การสร้างความเข้าใจกับประชาชน 2) การเสริมสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยในพื้นที่ 3) การพัฒนาศักยภาพของคนและพื้นที่ 4) การนำยุทธศาสตร์พระราชทาน "เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา" และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นกรอบในการปฏิบัติหน้าที่ (2) ปัญหาและอุปสรรคของกองอาสารักษาดินแดนต่อการสนับสนุนการปฏิบัติงานของทหารและตำรวจในพื้นที่จังหวัดปัตตานี มี 2 ด้าน คือ 1) ด้านระบบอุปถัมภ์ 2) ด้านพหุวัฒนธรรม (3) แนวทางแก้ไขปัญหาของกองอาสารักษาดินแดนต่อการสนับสนุนการปฏิบัติงานของทหารและตำรวจในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ประกอบด้วย การรณรงค์เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่สมาชิกกองอาสารักษาดินแดน และต้องยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล รวมทั้งให้เคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่นในการนับถือศาสนา ตลอดจนให้ศึกษาเรียนรู้ศาสนาของกันและกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectไทยอาสาป้องกันชาติth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.titleบทบาทของสมาชิกกองอาสารักษาดินแดนต่อการสนับสนุนการปฏิบัติงานของทหารและตำรวจในพื้นที่จังหวัดปัตตานีth_TH
dc.title.alternativeRoles of members of the volunteer defense corps in supporting military and police operations in Pattani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the roles of members of the Volunteer Defense Corps in supporting military and police operations in Pattani province, (2) to investigate the problems and obstacles of the Volunteer Defense Corps in supporting military and police operations in Pattani province and (3) to propose solutions of the Volunteer Defense Corps in supporting military and police operations in Pattani province. This research was a qualitative research. There were 14 purposive samples which consisted of 5 groups including members of the Volunteer Defense Corps group, commanders of members of the Volunteer Defense Corps group, military commanders group, police commanders group and local people group. The research instruments were interviews, descriptive data analysis and documentary research. This research found that (1) there were 4 main roles of members of the Volunteer Defense Corps in supporting military and police operations in Pattani province including: 1) building understanding with people, 2) strengthening security and safety in the local area, 3) developing a performance of local people and 4) applying the royal strategy "Understand, Access, Develop" and “Sufficiency Economy Philosophy” as a framework for performing duties. (2) There were 2 aspects of problems and obstacles of the Volunteer Defense Corps in supporting military and police operations in Pattani province including: 1) the patronage system and 2) the multiculturalism. (3) The solution of the Volunteer Defense Corps in supporting military and police operations in Pattani province consisted of campaigns to enhance knowledge and understanding for members of the Volunteer Defense Corps in principles of good governance and having the rights and freedom to change their religion or belief as well as studying and learning each other's religionen_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons