Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7934
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนฤพนธ์ ศรีโรจน์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-18T06:30:34Z-
dc.date.available2023-07-18T06:30:34Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7934-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินผลการดำเนินงานของเรือนจำอำเภอชัยบาดาลจังหวัดลพบุรี ใน 4 ด้าน คือ ด้านการเงิน ด้านกระบวนการภายใน ด้านผู้รับบริการ และด้านการเรียนรู้และการพัฒนา (2) ศึกษาปัญหาในการดำเนินงานของเรือนจำอำเภอชัยบาตาล จังหวัดลพบุรี (3) เสนอแนะแนวทางในการแก้ไข ปัญหาการดำเนินงานของเรือนจำอำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี ซึ่งมีประชากร คือ คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่เรือนจำ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี จำนวน 54 คน และผู้ต้องขังที่ถูกกุมขังภายในเรือนจำอำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี จำนวน 1,224 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ คณะผู้บริหารเรือนจำอำภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี จำนวน 7 คน โดยการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง และผู้ต้องขังที่ถูกคุมขังภายในเรือนจำอำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี จำนวน 302 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน่ สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบประเมินผลปฏิบัติงาน แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติแบบพรรณนาและการเปรียบเทียบ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ผลการปฏิบัติงานด้านการเงิน มีรายรับมากกว่ารายจ่ายทุกปีงบประมาณ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2562 ด้านกระบวนการภายใน มีเกณฑ์การดำเนินงาน ได้คะแนนอยู่ในระดับดีมาก ด้านผู้รับบริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการอยู่ในระดับมาก ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา การฝึกอบรมสัมมนาของเรือนจำอำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี การพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องโดยมีอัตราการเข้าร่วมหลักสูตรการฝึกอบรมสัมมนาเพิ่มขึ้น ทุกปีตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2562 (2) ปัญหาในการดำเนินงานที่สำคัญ คือ ปัญหาด้านการเงิน รายได้ที่จัดเก็บ ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาเรือนจำ ปัญหาด้านกระบวนการภายใน การบริหารจัดการด้านบุคลากร ได้ตรงกับความรู้ความสามารถ ขาดความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน ปัญหาด้านผู้รับบริการ การแก้ไขและพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน ปัญหาด้านการเรียนรู้และการพัฒนา การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ยังไม่ทั่วถึงและยังไม่ครอบคลุมความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน (3) ข้อเสนอแนะ ในการแก้ไขปัญหาด้านการเงิน ควรมีการวางแผนล่วงหน้าในการใช้จ่ายงบประมาณโดยคำนึงถึงความเหมาะสมตรงตามวัตถุประสงค์ ด้านกระบวนการภายในองค์การ ควรคำนึงถึงการบริหารจัดการ ด้านบุคลากร การสร้างความเข้าใจ ส่งเสริมให้บุคลากรมีการพัฒนาความรู้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ด้านผู้รับบริการ ควรปลูกจิตสำนึกที่ดีให้เจ้าหน้าที่ให้มีควมมุ่งมั่นที่จะพัฒนาแก้ไขปัญหา ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา ควรมีการฝึกอบมหรือฝึกทักษะบุคลากรอย่างทั่วถึง เพื่อเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานและการควบคุมดูแลแก่ผู้ต้องขังth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเรือนจำอำเภอชัยบาดาล--การประเมิน--ไทย--ลพบุรีth_TH
dc.subjectการประเมินผลงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการประเมินผลการดำเนินงานของเรือนจำอำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรีth_TH
dc.title.alternativeAn evaluation of Chaibadan District Prison, Lopburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: (1) evaluate the implementing performance of Chaibadan District Prison, Lopburi Province, in four aspects. These were financial aspect; internal process aspect; customer aspects; and learning and development aspects. (2) study implementing problems of Chaibadan District Prison, Lopburi Province. (3) recommend approaches for implementing problems of Chaibadan District Prison, Lopburi Province. This study applied mixed-method research. Population was 54 executives and officers of Chaibadan District Prison, Lopburi Province and 1,224 prisoners of Chaibadan District Prison, Lopburi Province. 7 executives of Chaibadan District Prison, Lopburi Province were purposive selected to be the key informants in qualitative study. For the quantitative, samples were 302 prisoners. Sample size was calculated by using Taro Yamane formula with accidental sampling method. Research instruments were performance assessment form, interview form and questionnaire. Qualitative data analysis employed content analysis. Quantitative data analysis employed descriptive statistics and comparison. Statistical analysis used mean, percentage and standard deviation. The results showed as follows: (1) for the financial aspect, the revenues was in excess of expenditures in each fiscal year from 2017 to 2019. For the internal process aspect, the performance evaluation was at high level. For the customer aspect, the satisfaction on the service was at high level. And for the learning and development aspect; the numbers of seminar/training provision of Chaibadan District Prison, Lopburi Province, and the attendance rate were yearly progressive from 2017 to 2019. (2) The major problems were: for the financial aspect, insufficient local revenue showed as a significant problem. For the internal process aspect, the lack of knowledge and understanding regarding work procedures revealed. For the customer aspect, rehabilitation program was not corresponding to the circumstances. For the learning and development, the seminar/training programs were not sufficient and the provided contents did not cover the necessary skills. (3) The recommendation for problem solutions were as follows: for the financial aspect; budget spending should be planned in advance suitably and should be met the objectives. For the internal process, Human Resource Management is recommended to encourage the personnel to improve the performance. For the customer aspect, personal accountability should be encouraged. For the learning and development aspect, the improvement of seminar/training was suggesteden_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161996.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons