Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชวัลกร ธรรมสกุลเลิศ, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-18T07:09:03Z-
dc.date.available2023-07-18T07:09:03Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7946-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคหรือในเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร (2) ระดับความสำคัญของส่วนประสมการตลาดของกล่องพลาสติกบรรจุอาหารที่มีต่อพฤติกรรมการ เลือกซื้อของผู้บริโภคในเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร (3) พฤติกรรมการเลือกซื้อกล่องพลาสติกบรรจุอาหารของผู้บริโภคในเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร (4) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการเลือกซื้อกล่องพลาสติกบรรจุอาหารของ ผู้บริโภคในเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร จำแนกตามส่วนประสมการตลาด การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริโภคที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไปและผู้ที่ซื้อ/ เคยซื้อกล่องพลาสติกบรรจุอาหารที่อาศัยในเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร ใช้ขนาดตัวอย่าง จำนวน 200 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอยางแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่างโดยการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือระดับความเชื่อมั่น 95 % ผลการศึกษาพบว่า (1)ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงมากว่าเพศชาย และมีอายุ ระหว่าง 31-40 ปี มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีสถานภาพสมรส มีจำนวนสมาชิกในครอบครัว 4 คนมีอาชีพพนักงาน บริษัทเอกชน มีรายได้ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท (2) ระดับความสำคัญของส่วนประสมการตลาดของกล่องพลาสติกบรรจุอาหารที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อของผู้บริโภคในเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับมากที่สุด คือด้าน ผลิตภัณฑ์ คือ ตกไม่แตก , ด้านราคาอยู่ในระดับมากที่สุด คือมีป้ายแสดงราคาชัดเจน, ด้านการจัดจำหน่าย คือสะดวก ประหยัดเวลา และน้อยที่สุดคือด้านการส่งเสริมการตลาดคือการส่งเสริมการขายต่อผู้บริโภค (3) พฤติกรรมการเลือกซื้อ กล่องพลาสติกบรรจุอาหารของผู้บริโภค คือ รูปแบบของผลิตภัณฑ์รูปทรงเหลี่ยม สาเหตุในการเลือกซื้อเน้นประโยชน์ใช้สอย สถานที่ในการเลือกซื้อส่วนมากซื้อจากซุปเปอร์มาร์เก็ตในห้างสรรพสินค้า บุคคลที่มีอิทธิพลในการเลือกซื้อคือ ตัวเองแหล่งข้อมูลก่อนการตัดสินใจในการเลือกซื้อคือคำแนะนำจากเพื่อน/ญาติ ความถี่ในการซื้อสินค้าในรอบ 1 เดือนคือ 1-2 ครั้ง ตราสินค้าในการเลือกซื้อคือไม่สนใจในตราสินค้า วิธีการชำระเงินคือมีวิธี ชำระเป็นเงินสด (4) การเปรียบเทียบพฤติกรรมการเลือกซื้อกล่องพลาสติกบรรจุอหารของผู้บริโภคในเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร จำแนกตามส่วนประสมการตลาด เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ผลิตภัณฑ์ส่่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อที่แตกต่างกันในด้านสถานที่ซื้อ บุคคลที่มี อิทธิพลต่อการตัดสินใจ และ วิธีการชำระเงิน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 การจัดจำหน่าย ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อที่แตกต่างกันในด้านสถานที่ซื้อ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 การส่งเสริมการตลาด ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อที่ แตกต่างกันในด้านแหล่งข้อมูลก่อนการตัดสินใจ และ ความถี่ในการซื้อที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาชนะพลาสติกth_TH
dc.subjectบรรจุภัณฑ์อาหารth_TH
dc.subjectการเลือกซื้อสินค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleพฤติกรรมการเลือกซื้อกล่องพลาสติกบรรจุอาหารของผู้บริโภคในเขตบางบอน กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeBehavior of the consumers' buying decision of plastic food packages in Bangbon District of Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study: (1) personal characteristics of the consumers in Bangbon District of Bangkok Metropolis; (2) the important level of marketing mix factors of plastic food packages towards consumers buying behavior; (3) consumers behavior for buying plastic food packages in Bangbon District of Bangkok Metropolis; and (4) a comparison of consumers behavior for buying plastic food packages in Bangbon District of Bangkok Metropolis with marketing mix factors. This study was a survey research. The population were consumers bought plastic food packages in Bangbon District of Bangkok Metropolis who aged over 15 years old. The samples consisted of 200 people using accidental sampling. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, t-test and ANOVA with significant difference at 0.05 or reliability level at 95%. The results from this study found that (1) the majority of the respondents were female, aged 31-40 years, had undergraduate degrees, married and had four family members, and worked as private company officers with average monthly income 10,001- 20,000 baht. (2) The level of marketing mix factors of plastic food packages towards consumers buying behavior in Bangbon District was at the highest level in terms of unbreakable products, clear price tag, convenient sale distribution and the sale promotion was at the lowest level. (3) For consumer behavior for buying plastic food packages, the respondents preferred to buy square shape packages for utility purposes, purchased from a supermarket or a shopping mall. The influential person for buying was themselves. The source of information was from their friends or relatives. They purchased 1-2 times per month, were not interested in branding and made a payment in cash. (4) For a comparison of consumer’s behavior for buying plastic food packages in Bangbon District with marketing mix factors, the product affected the different aspects of purchasing behavior in terms of distribution places, an influential person and payment method with the significant difference level at 0.05. Distribution affected the different aspects of consumer behavior in terms of distribution places with the significant difference level at 0.05. Marketing promotion affected the different aspects of consumer behavior in terms of source of product information before making the decision and frequency of purchase with the significant difference level at 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_140223.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons