Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7962
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศักดินันท ฉายัษเฐียร, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-18T08:13:39Z-
dc.date.available2023-07-18T08:13:39Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7962-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการดื่มชาชักของผู้บริโภคในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (2) ลักษณะทางประชากรของผู้ดื่มชาชักในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ (3) หาความสัมพันธ์ระหวาง่ ลักษณะทางประชากรของผู้ดื่มชาชักและพฤติกรรมการดื่มชาชักของ ผู้บริโภคในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประชากรคือ ผู้บริโภคที่เคยดื่มชาชักและอาศัยอยูในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กำหนด ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน โดยใช้สูตรยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ใช้แบบสอบถามเป็น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและเชิงอนุมาน ได้แก่ ความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย และการทดสอบไค-สแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมการดื่มชาชักของผู้บริโภคเป็ นดังนี้ผู้บริโภคเข้ารับ บริการร้านชาชัก 4-7 ครั้งต่อเดือน มีค่าใช้จ่ายต่อครั้งโดยเฉลี่ย 51-100 บาท และมากับเพื่อน ร่วมงาน ส่วนสินค้าที่ซื้อภายในร้านเรียงล าดับจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุดได้แก่ ชาชัก กาแฟ อาหารวาง และเครื่องดื่มอื่นๆ ส่วนใหญ่มาใช้บริการหลังเวลา 16.00 น. และมีเหตุผลที่ใช้บริการร้าน ชาชักคือเพื่อการผ่อนคลาย (2) ลักษณะทางประชากรของผู้ดื่มชาชักส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง มีอายุ ระหว่าง 36-45 ปีมีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพเป็ นพนักงานบริษัทเอกชนมีรายได้มากกว่า 20,000 บาทต่อเดือน และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรของผู้ดื่มชาชักและ พฤติกรรมการดื่มชาชักของผู้บริโภคในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่า อายุมีความสัมพันธ์กับ ความถี่ในการใช้บริการ ช่วงเวลาในใช้บริการ และผู้ร่วมใช้บริการ ส่วนรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมี ความสัมพันธ์กบความถี่ในการใช้บริการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--พระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมการดื่มชาชักของผู้บริโภคในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeCha Chuck drinking behavior of consumer in Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe independent study aimed to study: (1) Cha Chuck drinking behavior of the consumers in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province; (2) demographic nature of the consumers; and (3) find the relationship between Cha Chuck consumers and the consumption behavior. Population was the people who had drink Cha Chuck and lived in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. The samples in this study were 400 people according to taro Yamaneformula at confident level of 95%. The data was collected from a questionnaires. Samplings were done by using convenience sampling. Then, the data were analyzed by descriptive statistics comprising of frequency, percentage, mean, and chi-square test. The findings revealed that: (1) Cha Chuck drinking behavior including: taking service at Cha Chuck shop of 4–7 times a month, with average payment of 51–100 baht, Cha Chuck shop service was often used by business group. Regarding the purchase of goods in the Cha Chuck shop from more to less included Cha Chuck, coffee, snack and other beverages.Service using was mostly consumed after 16.00 hrs. with the reason for relaxation; (2)demographic nature of Cha Chuck consumers were mainly females, aged between 36–45 years, with education level of bachelor’s degree, and working for private companies with income more than 20,000 baht per month; and(3) relationship between Cha Chuck drinkers and the consumption behavior living in was that a age had relationship with frequency of service; duration of service, other consumers with average income had relationship with frequency of serviceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128640.pdf8.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons