Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7969
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอารีรัตน์ วรชินา, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-18T08:37:53Z-
dc.date.available2023-07-18T08:37:53Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7969-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคที่มาใช้บริการร้านค้าปลีกแบบซูเปอร์เซ็นเตอร์ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการใช้บริการร้านค้าปลีกแบบซูเปอร์เซ็นเตอร์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสระแก้วและ (3) พฤติกรรมการใช้บริการร้านค้าปลีกแบบซูเปอร์เซ็นเตอร์ของผู้บริโภคในเขต อำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ผู้บริโภคที่มาใช้บริการร้านค้าปลีกแบบซูเปอร์เซ็นเตอร์ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว ที่ไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน กำหนดขนาดตัวอย่าง โดยใช้ความคาดเคลื่อนที่ 0.05 จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบสะดวก ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามในครั้งนี้ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย อายุ 31-40 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 - 20,000 บาท และมีสมาชิกในครอบครัว 3 - 4 คน (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดใน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.98 เมื่อพิจารณารายปัจจัย พบว่าปัจจัยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านกระบวนการให้บริการ รองลงมาคือ ด้านผลิตภัณฑ์ และปัจจัยด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ด้านพนักงานบริการ (3) พฤติกรรมการใช้บริการร้านค้าปลีกแบบซูเปอร์เซ็นเตอร์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว โดยส่วนใหญ่เคยใช้บริการห้างบิ๊กซี เหตุผลที่เลือกใช้บริการเป็นประจำ เนื่องจากเป็นศูนย์รวมสินค้าที่ครบครันและหลากหลาย ประเภทสินค้าที่ซื้อและใช้บริการแผนกซูเปอร์มาเก็ต ความถี่ในการมาใช้บริการต่อเดือน ไม่แน่นอน เฉลี่ยจำนวนเงินต่อครั้งที่ใช้บริการ 1,001 - 1,500 บาท ช่วงเวลาที่ใช้บริการ ไม่แน่นอน เฉลี่ยเวลาต่อครั้งที่ใช้บริการ 1 - 2 ชัวโมง ผู้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ โดยส่วนใหญ่ ตัดสินใจเอง ทราบข้อมูลข่าวสาร จากโทรทัศน์ การเดินทางมาใช้บริการด้วยรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่ตั้งต้องสะดวกต่อการเดินทางและช่วงวันที่มาใช้บริการ คือ วันเสาร์-วันอาทิตย์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectร้านค้าปลีกขนาดใหญ่--ไทย--สระแก้วth_TH
dc.titleพฤติกรรมการใช้บริการร้านค้าปลีกแบบซูเปอร์เซ็นเตอร์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสระแก้วth_TH
dc.title.alternativeCustomer behavior on using services of retail super centers in Muang District Sa Kaeo Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were to study (1) personal factors of customers of Retail Super Centers in Muang District, Sa Kaew Province; (2) the important level of marketing mix factors affecting customer behavior of Super Centers in Muang District, Sa Kaew Province; and (3) customer behavior of Super Centers in Muang District, Sa Kaew Province. The study was a survey research. The population was an unknown amount of customers of Super Center in Muang Sa Kaew district, Sa Kaew province. The sample was 400 customers using convenience sampling method. A questionnaire was sed for data collection. The data was analyzed by percentage, mean and standard deviation. The results showed that (1) most respondents were female with an average age between 31-40 years old, married, held bachelor’s degree, received 15,001-20,000 Baht average monthly income and had 3-4 family members. (2) The overall marketing mix factors were at a high level. Service process factor was the highest average level while product and staff factors were at a high level respectively. (3) Most respondents often used services at Big C. The reasons for shopping were that Big C was the wholesale super center and supermarket. The frequency of shopping was not known and customers spent an average of 1-2 hours each time. Customers made decision by themselves and received information from television media. They travelled by personal cars to a super center and the location must be easy to access. They prefer to go shopping on Saturday and Sundayen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_141018.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons