Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7972
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมจิตร ล้วนจำ เริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorองอาจ อ่ำรำไพ, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-19T00:40:46Z-
dc.date.available2023-07-19T00:40:46Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7972-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อ (1) ศึกษาความต้องการของผู้ส่งออกมะม่วง น้ำดอกไม้ของไทยที่ต้องการส่งไปจำหน่ายในตลาดประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (2) ศึกษาปัญหาและอุสรรคในการ ส่งออก และ (3) ศึกษามาตรฐานมะม่วงน้ำดอกไม้ของไทยที่เหมาะสมในการทำตลาดในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ผู้ส่งออกมะม่วง จำนวน 12 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบ สัมภาษณ์เกี่ยวกับความต้องการมะม่วงนํ้าดอกไม้ กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์มะม่วงนํ้าดอกไม้ที่ผู้ส่งออกต้องการและปัญหา และอุปสรรคที่พบในการส่งออกรวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง ผลการวิจัยพบว่ามีบริษัทที่ต้องการส่งมะม่วงนํ้าดอกไม้จำหน่ายประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนมี เพียง 1 บริษัท โดยปริมาณที่ต้องการส่งออก คือ 100 ตันต่อปี ส่วนอีก 2 บริษัท สนใจที่จะส่งออกโดยมีปริมาณที่ ต้องการส่งออก รายละ 50 ตัน ต่อปี โดยอีก 2 บริษัท ไม่ต้องการส่งออกแน่นอนเนื่องจากทำตลาดสินค้า ประเภทอื่น เช่น ทุเรียน มังคุด มาตราฐานมะม่วงนํ้าดอกไม้ เพื่อการส่งออกไปประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน จะใช้มาตรฐานเดียวกับที่ ส่งออกไปประเทศญี่ปุ่น ได้แก่ มีการควบคุม คุณภาพการผลิต การเก็บเกี่ยว การแบ่งชั้นคุณภาพ ขนาดผล ความคลาด เคลื่อนเรื่องคุณภาพและขนาด การบรรจุหีบห่อ เครื่องหมายบนบรรจุภัณฑ์ เกณฑ์สุขลักษณะ ราคามะม่วงนํ้าดอกไม้ที่ ต้องการ มากที่สุด คือ กิโลกรัมละ 150-220 บาท รองลงมา คือ 80-120 บาท ปัญหาและอุปสรรคในการส่งออก คือ ต้องการให้ปรับปรุงขั้นตอนการส่งออกให้สะดวกขึ้น มีการสนับสนุนในเชิงรุก และลดการกีดกันจากภาครัฐของจีน นอกจากนี้ยังต้องการให้ภาครัฐช่วยสร้างความรู้จักในตัวสินค้าให้กับตลาดในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนให้มาก ขึ้นอีกด้วยผู้สู้ส่งออกสินค้าทางการเกษตรไทยยังต้องการให้ภาครัฐปรับปรุงในเรื่อง มาตรฐานสินค้า โดยเฉพาะการให้ ความรู้แก่ผู้แก่ผู้ส่งออกรายใหม่ในเรื่องของอายุการเก็บเกี่ยวส่วนในเรื่องของภาษีศุลกากร ผู้ส่งออกให้ภาครัฐช่วย เจรจาให้มณฑลต่างๆ ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ใช้อัตราภาษีศุลกากรอัตราเดียวกันทั้งประเทศ นอกจากนี้ใน ระบบตลาดผู้ส่งออกต้องการให้รัฐบาลเจรจาเปิดตลาดสินค้า ทางการเกษตรของไทยในระดับมณฑลต่างๆ ในประเทศสา ธารณรัฐประชาชนจีนให้มากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.171en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมะม่วงน้ำดอกไม้ -- ไทยth_TH
dc.subjectการส่งออก -- ไทยth_TH
dc.titleความต้องการมะม่วงน้ำดอกไม้ของผู้ส่งออกไทยเพื่อตลาดประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนth_TH
dc.title.alternativeThai exporters' demand for Nam Dok Mai mangos for the people's republic of Chinath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) define the demand of Thai exporters for Nam Dok Mai mangos for export to the People’s Republic of China, (2) explore problems and difficulties in exporting, and (3) study the appropriate product quality of Nam Dok Mai mangos. The sample group consisted of 12 exporters and interview form was used as the instrument to collect data via telephone interview. There were four components in the interview, namely the demand for Nam Dok Mai mangos, market strategy for Nam Dok Mai mango products, problems and difficulties in exporting, and recommendations for improving the export system. Major findings were as follows: there was only one exporter who wants to export 100 tons of Nam Dok Mai mangos to the People’s Republic of China while another two exporters plan to export 50 tons of the product. The other two did not wish to export as their businesses were dealing with other products. The product standards of Nam Dok Mai mangos for export to the People’s Republic of China were the same as for export to Japan. The product standards were quality control for production, product classification, size classification, quality tolerances, size tolerances, uniformity of presentation, packaging, marketing or labeling packages, and hygiene. The preferable prices of Nam Dok Mai mangos were 150-220 baht per kilogram. Problems and difficulties in exporting were the complexities of the exporting system, insufficient product promotion, and different rates of tax among cities in the People’s Republic of China. Recommendations were as follow: the Thai government should promote Thai products more in the People’s Republic of China to gain a greater market segment for Thai products. For the tax rate, the Thai government should negotiate to get the same rate throughout the People’s Republic of Chinaen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
85128.pdfเอกสารฉบับเต็ม956.7 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons