Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7975
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลเสน่ห์ วงศ์เชิดธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอังคณา จันทรสุนทรกุล, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-19T01:19:05Z-
dc.date.available2023-07-19T01:19:05Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7975-
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการชาวไทย และชาวต่างประเทศ 2) พฤติกรรมการใช้บริการของชาวไทยและชาวต่างประเทศ 3) ปัญหาและ ข้อเสนอแนะของผู้ใช้บริการชาวไทยและชาวต่างประเทศในการใช้บริการระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ของบริษัทการบินไทยจำกัด (มหาชน) กลุ่มตัวอย่างเป็นชาวไทย และชาวต่างประเทศจำนวนกลุ่มละ 200 คน รวมเป็น 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.83 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS for WINDOWS ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ใช้บริการชาวไทยและชาวต่างประเทศมีความพึงพอใจในด้าน ส่งเสริมการขาย อยู่ในระดับสูง ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย อยู่ในระดับปานกลาง ผู้ใช้บริการชาวไทยมีความพึงพอใจในด้าน ผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับสูง ส่วนผู้ใช้บริการที่เป็นชาว ต่างประเทศมีความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับปานกลาง 2) ชาวไทยและชาว ต่างประเทศมีพฤติกรรมในการใช้บริการคือ นิยมใช้บริการที่บ้านเพื่อศึกษาสารสนเทศมากที่สุด ใช้ บริการน้อยกว่า 1-1 ครั้งต่อเดือน โดยใช้ครั้งละประมาณ 30 นาที ทั้งนี้ชาวไทยเรียนรู้ระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ของการบินไทยจากจากพนักงานบริษัทการบินไทย และคนรู้จัก ส่วนชาว ต่างประเทศเรียนรู้จากการศึกษาด้วยตนเองทางอินเทอร์เน็ต 3) ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ของชาวไทยและชาวต่างประเทศ คือ ชาวไทยส่วนใหญ่เสนอถึงปัญหาที่ประสบ คือ มีข้อจำกัดมาก และไม่สามารถสอบถามจากพนักงานและข้อเสนอแนะ คือ ให้สำรองที่นั่งอย่างง่ายๆ ส่วนชาว ต่างประเทศ คือ ไม่เชื่อว่าจะได้ราคาเท่ากับตัวแทนจำหน่าย ข้อเสนอแนะ คือ ให้ราคาที่ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.169en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริษัทการบินไทยth_TH
dc.subjectการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ -- ไทยth_TH
dc.titleการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของบริษัทการบินไทยจำกัด(มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeStudy of customer satisfaction on using e-commerce services of Thai Airways International Public Co.Ltd. (Thai)th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were studying 1) the Thai and the foreign customer’s satisfaction 2) the Thai and the foreign customer’s behavior and 3) the Thai and the foreign customer’s comments, problems and difficulties of using the Thai Airways International Plc.(THAI) E-Commerce service. The sample consisted of 400 people from both the foreign and the Thai 200each. The instrument used for data collection was a rating-scale questionnaires with its reliability of .83 The SPSS for WINDOWS program was used to analyze the percentage, standard deviation, average and mean The study results revealed that (1) The Thai and the foreign customers were highly satisfied with the promotion, the ticketing price and the channel distribution by internet were averagely satisfied. The Thai customers were highly satisfied with the product by internet, the foreign customers were averagely satisfied with product (2) the majority of the Thai and the foreign customers behavior were favored to use the service at home for information. The time spent was approximately 30 minutes /session on.The frequency of using was less than 1-1 times per month. The Thai knew the service from Thai staffs and their friends. The foreign customers knew the service by searching the internet themselves 3) The comments, problems and difficulties were 1) Problems faceed by the Thai customers were many restrictions and nobody could be advice if required. The greatest suggestions of the Thai customers were to simplify the processes and set up the help menu, The foreign customers problems and difficulties were the ticketing fare from the website which were different from travel agencies the greatest suggestion were to set same ticketing price criteriaen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
86363.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons