Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7981
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิเชียร เลิศโภคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ดรรชนี บุญเหมือนใจ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ฉวีวรรณ สิริเขมาภรณ์, 2510- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-19T03:16:02Z | - |
dc.date.available | 2023-07-19T03:16:02Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7981 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาลักษณะของผู้ใช้บริการชำระเงินผ่านจุดบริการ Pay at Post ณ ที่ทำการไปรษณีย์ในเขตจังหวัดนครสวรรค์ (2) ศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ จำแนกตามกลุ่มบริการและตามปัจจัยส่วนประสมการตลาด (3) ศึกษาเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ บริการที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการชำระเงินผ่านจุดบริการ Pay at Post ของที่ทำการไปรษณีย์ใน เขตจังหวัดนครสวรรค์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และการบริการของกลุ่มที่ทำการ (4) ศึกษาสภาพปัญหาที่ ผู้ใช้บริการชำระเงินผ่านจุดบริการ Payal Post ประสบในการใช้บริการของที่ทำการไปรษณีย์ในเขตจังหวัด นครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บริการ ณ ที่ทำการไปรษณีย์ในเขตจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 16 แห่ง จำนวน 480 คน เครื่องมีอที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความ แปรปรวนและการทดสอบการเปรียบเทียบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ใช้บริการที่มาใช้บริการชำระเงินผ่านจุดบริการ Pay at Post ณ ที่ทำการไปรษณีย์ในเขตจังหวัดนครสวรรค์ เป็นเพศชายกับเพศหญิงใกล้เคียงกัน มีอายุระหว่าง 20-34 ปี ส่วน ใหญ่เป็นผู้มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพรับราชการ/พนักงานของรัฐ และมีรายได้ระหว่าง 5,000- 10,000 บาท (2) ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อกลุ่มบริการทั้ง 8 กลุ่มอยู่ในระดับมาก ส่วนความพึงพอใจต่อ ปัจจัยส่วนประสมการตลาดทั้ง 5 ด้านพบว่ามีความพึงพอใจด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคาด้านการจัดจำหน่ายและ สถานที่ ด้านบุคคล อยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้านการส่งเสริมการตลาดที่มีความพึงพอใจระดับปานกลาง (3) ผู้ใช้ บริการที่มีเพศ อายุ และรายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน มีความพึงพอใจต่อบริการ 5 ด้าน ไม่ต่างกัน ส่วนผู้ใช้บริการที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีความพึงพอใจด้านผลิตภัณห์ราคา การจัดจำหน่ายและ สถานที่ และการส่งเสริมการตลาดแตกต่างกัน ผู้ใช้บริการที่มีอาชีพต่างกัน มีความพึงพอใจด้านการส่งเสริมการ ตลาดแตกต่างกัน และผู้ใช้บริการ ณ ที่ทำการต่างกันมีความพึงพอใจต่อบริการ 5 ด้านต่างกัน โดยผู้ใช้บริการ ณ ที่ทำการระดับอำเภอมีความพึงพอใจสูงกว่าผู้ใช้บริการระดับจังหวัดในด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคคล และสูงกว่าผู้ใช้บริการระดับตำบล ด้านผลิตภัณฑ์ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่ายและสถานที่และด้าน บุคคล (4) ปัญหาที่ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ประสบ คือสื่อประชาสัมพันธ์ไม่เพียงพอ จำนวนช่องให้บริการมีน้อย และปัญหาความล่าช้าของการให้บริการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2005.375 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ความพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.subject | ไปรษณีย์ -- ไทย -- นครสวรรค์ | th_TH |
dc.title | ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการชำระเงินผ่านจุดบริการ pay at post ณ ที่ทำการไปรษณีย์ในเขตจังหวัดนครสวรรค์ | th_TH |
dc.title.alternative | The satisfaction of customers using pay at post services at post offices in Nakhon Sawan province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to study the personal characteristics of customers using Pay at Post services at post offices in Nakhon Sawan province; (2) to study the satisfaction level of the customers using Pay at Post services based on the service group and marketing mix; (3) to compare the satisfaction of the customers based on their personal factors and the services offered by post offices in each group; and (4) to study the nature of problems experienced by the customers. The sample in this research consisted of480 customers of 16 post offices in Nakhon Sawan province. The research tool was a questionnaire developed by the researcher. Data were statistically analyzed through frequencies, percentages, means, standard deviations, one-way ANOVA and multiple comparison. The research findings were as follows: (1) The customers were almost equally divided between males and females, and the majority were aged 20-34 with a bachelor degree education, working in the government sector with monthly family income between 5,000 - 10,000 baht. (2) They were highly satisfied with all 8 service groups. In terms of marketing mix, it was found that the customers were highly satisfied with product, price, place, and people but moderately satisfied with promotion. (3) The customers of different sex, age and monthly family income had no differences in degree of satisfaction in the 5 aspects of marketing mix but the customers of different education level had differences in degree of satisfaction in terms of product, price, place and promotion, and the customers of different occupation had differences in degree of satisfaction in terms of promotion. For the customers in different level post offices, they had differences ๒ degree of satisfaction in all 5 aspects of marketing mix. The customers of district post offices had a degree of satisfaction higher than the customers of provincial post offices in terms of product, promotion and people and also had a higher degree of satisfaction than customers of sub-district post offices in terms of product, price, place and people. (4) The problems encountered by most of the customers were insufficient public relations media, insufficient number of counters and the low speed of service provided by the employees | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License