Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7982
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | บุษบา ตรีพัฒนาสุวรรณ, 2498- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-19T03:57:21Z | - |
dc.date.available | 2023-07-19T03:57:21Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7982 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2548 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานสำนักงานประกันสังคมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานสำนักงานประกันสังคมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (2) เปรียบเทียบระดับความความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานสำนักงานประกันสังคมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำแนกตาม เพศ ระดับการศึกษา อายุการทำงาน ระดับตำแหน่ง และรายได้ต่อเดือน (3) ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานสำนักงานประกันสังคมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลผู้ศึกษาวิจัยได้ทำการรวบรวมข้อมูลจาก กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานสำนักงานประกันสังคมในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 10 เขต สำนักงานใหญ่จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี จำนวน 318 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า พนักงานสำนักงานประกันสังคมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาความพึงพอใจในองค์ประกอบส่วนบุคคลพบว่าพนักงานที่มีความ แตกต่างกันในด้านเพศ ระดับการศึกษา อายุการทำงาน และรายได้ต่อเดือน จะมีระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน แต่พนักงานที่มีระดับตำแหน่งแตกต่างกันจะมีระดับความพึงพอใจแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ยังพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานสำนักงานประกันสังคมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านความรับผิดชอบ ด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านลักษณะงาน ด้านการยอมรับ ด้านความมั่นคงในงาน ด้านสัมพันธภาพกับผู้ร่วมงาน ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ด้านความก้าวหน้า ด้านนโยบายและการบริหาร ด้านการบังคับบัญชา ด้านรายได้และสวัสดิการข้อเสนอแนะจากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ สำนักงานประกันสังคมควรกำหนดให้มีการเรียนรู้และหมุนเวียนการทำงานของพนักงานเพื่อให้เกิดการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน มีการประชุมร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ระหว่างผู้บริหารกับพนักงาน นอกจากนั้นเห็นควรให้มีการปรับสวัสดิการ และ นันทนาการต่าง ๆ ให้แก่พนักงาน เป็นต้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2005.377 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สำนักงานประกันสังคม | th_TH |
dc.subject | ความพอใจในการทำงาน--ไทย | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานสำนักงานประกันสังคม : กรณีศึกษาสำนักงานประกันสังคม ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influencingworkers' satisfaction performance : a case study of Social Security Office in Bangkok matropolitan and vicinity area | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2005.377 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2005.377 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research Factors Influencing Workers’ Satisfaction Performance : A Case Study of Social Security Officers in Bangkok Metropolitan and Vicinity Area ” were as follows; 1) to Study facters influcnce on Social Security Officers ‘s satisfaction of their Performance 2) to compare Social Security Officers’s Satisfaction levels between those who work in Bangkok and Vicinity Area Offices classified by sex, years of service, educational background, position and salary and 3) to find out problems and obstacles as well as to propose useful recommendation, related to Social Security Officers’s Satisfaction, for concerenagencies. The samplings of this research were 318 Social Security Officers from 10 Bangkok Area Offices and Area Offices located in Nonthaburi Province, Samuthprakam Province and Pratumthani Province. Data were collected with questionnaires. The study found that most Social Security Officers were satisfied with their duty performance al high level. Social Security Officers who had different backgrounds in terms of sex, years of servicee, educational backgrounds and salary had no different satisfaction levels. However, the research showed that Social Security Officers who had different positions had different satisfaction levels. Factors Influencing Workers’ Satisfaction Performance consisted of responsibility, achievement, nature of work, acceptance from masters and colleagues, stability, relationship with colleagues, working atmosphere, job prospect, organizational policy, administration, salaries and welfare respectively. The researcher recommends that the Social Security Office should provide longlife education to officers in addition to job rotation so as to develop and increase officers’ efficiency. There should be a meeting between executives and officers together with provision of incentives, additional welfare and recreation for its staffs. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | อมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License