Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7987
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอดิเรก บัวสุก, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T02:05:36Z-
dc.date.available2023-07-20T02:05:36Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7987-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง อำนาจศาลในการกำหนดค่าเสียหายตามมาตรา 96 ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาลักษณะของการกําหนดค่าเสียหาย บองศาล ตามมาตรา 96 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กับการกำาหนดค่าเสียหายในคดีสิ่งแวดล้อมของต่างประเทศและบทบัญญัติกฎหมายของไทยที่มีบทบัญญัติ กำหนดให้อำนาจศาลในการกำหนดค่าเสียหายเชิงลงโทษ ศึกษาปัญหา และอุปสรรคในการกำหนดค่าเสียหายของศาลจากการก่อให้เกิดมลพิษ รวมทั้งศึกษาแนวทางและวิธีการกำหนดค่าเสียหายของศาล การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้ จึงได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายของต่างประเทศและบทบัญญัติกฎหมายของประเทศไทย เพื่อค้นหาแนวทางแก้ไบการกําหนดค่าเสียหายของศาลเพื่อแก้ไขปัญหาที่ประสพอยู่ในปัจจุบัน ให้เกิดประสิทธิภาพ และเหมาะสม ดังนั้นจึงควรมีการกำหนดหลักการทางกฎหมาย มาตรการบังคับใช้กฎหมาย และการแก้ไขกฎหมาย โดยการกําหนดบทบัญญัติเฉพาะให้อำนาจศาลในการกําหนดค่าเสียหาย ในกรณีที่มีผู้ก่อให้เกิดมลพิษ และมีผู้ได้รับความเสียหายเพื่อความเหมะเกิดความเป็นธรรม และให้ความคุ้มครองผู้เสียหายจากปัญหาการก่อให้เกิดมลพิษได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการศึกษาพบว่าการก้าหนดค่าเสียหายของศาลในคดีสงแวดล้อม ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ยังคงใช้หลักการในการกำหนดค่าเสียหายตามความเสียหายที่เกิดขึ้นจริงตามหลักละเมิด ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เป็นเกณฑ์ในการกำหนดค่าเสียหาย แต่เนื่องจากคดีสิ่งแวดล้อมมีลักษณะพิเศษ มีความซับซ้อนที่แตกต่างจากคดีละเมิดทั่ว ๆ ไป และประการที่สำคัญไม่มีการนำเอาหลักค่าเสียหายเชิงลงโทษมาปรับใช้ตามแบบอย่างของประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายคอมมอนลอว์ ที่เห็นเด่นชัดคือประเทศสหรัฐอเมริกา หรือแม้กระทั่งบทบัญญัติกฎหมายบางฉบับของประเทศไทย ซึ่งได้มีการนำเอาหลักค่าเสียหายเชิงลงโทษมาบังคับใช้แล้ว ทําให้ผู้ที่ได้รับความเสียหาย ยังไม่ได้รับการเยียวยาที่ถูกต้องเหมาะสมและยุติธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectค่าเสียหายth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535th_TH
dc.subjectเขตอำนาจศาลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleอำนาจศาลในการกำหนดค่าเสียหายตามมาตรา 96 ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535th_TH
dc.title.alternativeJurisdiction to determine compensation under section 96 of the enhancement and conservation of National Environmental Quality Act, B.E. 2535en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to study the methods of determining compensation by the Court under section 96 of Enhancement and Conservation of the Environmental Quality Act, B.E. 2535 and the international environmental law cases and legislation of Thailand with the legal provisions that gives jurisdiction to the court to determining punitive damages,. It also study problems and obstacles to determining damages and compensation by the courts from cause of pollution as well as to study guideline and how to determining compensation in court of law. This independent study conducted a comparative study between the international law and the laws of Thailand in order to fined remedies to determining compensation by the court, to find solutions to the problem experiences at present in effective and appropriate manner. Therefore, the legal principles, law enforcement measures and amendments to the Law should be made by assigning specific provisions empowering courts to determining compensation in the case that there is polluter and injured parties in order to fair and provide protection to the injured parties from the problems caused by pollution effectively. The results showed that the methods of determining compensation by the court in environmental law cases in accordance with the Enhancement and Conservation of the Nation Environmental Quality Act, B.E. 2535 still applied the principle in determining compensation based on actual damages based on breach principle according to Civil and Commercial Code to determining compensation. Due to special characteristics and complexities of the environmental law which makes it different from general torts as well as the key important of no application of punitive damages were adopted based on the example of the countries that use the common law legal system, or example United States or even some of the legal provisions of Thailand that have already adopted the punitive damages, therefore the injured parties have not received the correct, fair and reasonable remediesen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons