Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7988
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสงth_TH
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorนพวรรณ สกุลศรีนำชัย, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T02:18:55Z-
dc.date.available2023-07-20T02:18:55Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7988en_US
dc.description.abstractการจัดทำวิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาพฤติกรรมการซื้อเครื่องเสียงติดรถยนต์ของผู้บริโภคในเขต 3 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลำปาง) (2) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคได้แก่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลกับส่วนประสมทางการตลาด ในการวิจัยครั้งนี้ใช้วิชีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างจากประชากร คือ กลุ่มผู้ใช้รถยนต์นั่งส่วนบุคคล ในเขต 3 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ซึ่งได้ทำการจดทะเบียนรถยนต์นั่งส่วนบุคคลปี 2546 โดยได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน (จังหวัดเชียงราย จำนวน 72 คน จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 256 คน และจังหวัดลำปาง 72 คน) โดยเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บบรวบรวมข้อมูลแบบสอบถาม และนำไปประมวลผลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา เป็นการหาค่าทางสถิติพื้นฐาน เช่น ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความถี่จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงให้เห็นว่าผู้บริโภคในเขต 3 จังหวัดภาคเหนือตอนบนมีพฤติกรรมการซื้อเครื่องเสียงติดรถยนต์ ดังนี้ จากผู้ตอบแบบสอบถามนั้นส่วนใหญ่ใช้รถยนต์นั่งส่วนบุคคลประเภทรถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน มีประสบการณ์ในการเปลี่ยนเครื่องเสียงมาแล้ว 1 ครั้ง และทำการตัดสินใจซื้อเครื่องเสียงด้วยตนเอง เนื่องจากต้องการเปลี่ยนเครื่องเสียงรุ่นใหม่ที่ดีกว่าเดิม และเพื่อต้องการใช้เครื่องเสียงเป็นเพื่อนเมื่อต้องเดินทางไกล ๆ โดยยี่ห้อที่ผู้บริโภคสนใจมากที่สุดคือ ยี่ห้อ SONY โดยในการหาข้อมูลนั้นผู้ตอบแบบสอบถามได้หาข้อมูลจากสื่อวารสารต่าง ๆ สำหรับ สินค้าเครื่องเสียงติดรถยนต์ที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสนใจมากที่สุดคือ วิทยุติดรถยนต์ โดยในการซื้อแต่ละครั้งนั้นได้กำหนดวงเงินไว้ ประมาณ 5,000-20,000 บาท และสามารถซื้อเครื่องเสียงได้ตรงกับที่กำหนดไว้ ซึ่งถ้าไม่ตรงกับที่กำหนดไว้เนื่องจากพนักงานขายเป็นผู้แนะนำ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างจะซื้อสินค้าจากร้านประดับยนต์ มากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2005.395en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย (ภาคเหนือ)th_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อเครื่องเสียงติดรถยนต์ของผู้บริโภคในเขต 3 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลำปาง)th_TH
dc.title.alternativeAuto audio set purchasing behavior of consumers in 3 upper unorthern provinces (Chang Rai, Chang Mai and Lampang)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2005.395-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2005.395en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: (1) to study the audio Purchasing Behavior of the Consumers in Chiangrai, Chiangmai and Lampang Provinces. (2) to study about the means of the Marketing composition that affect the consumers purchasing behavior which are production, price, place and promotion. (3) to study the relationship between the consumers personal information and the marketing mix The methods of research used in this study were by choosing by random the group samples of people in 3 northern provinces which are Chiangrai, Chiangmai and Lampang who registered as private cars in 2003 and used 400 people as group sample (72 people from Chiangrai, 256 people from Chiangmai and 72 people from Lampang) The instrument used to gather the information of the questionnaires including the evaluated results with the SPSS program which consists of descriptive and statistical approach such as standard deviation, percentage, average and density. After analyzing the information, it shows that most of the consumers who answered the questionnaires use private cars that doesn’t exceed more than 7 scats. They have ever had an experience in changing their car auto audio sets which they made through their own decision in order to change it for a better one. Also they used it as a sort of entertainment during long distance trips. Most consumers are interested in Sony products. The consumers who answered the questionnaires find their information from many magazines. The auto audio products which the group samples of people are most interested in is the car auto audio set which they had already set up a budget of about 5,000-20,000 baht and most of them purchase products according to their needs. Some of them didn’t purchase the car auto audio sets which they want because of the salespersons’ advice so instead of getting the one they want, they have to change their minds for another one which may or may not be expensive. Almost all of the group samples of people purchase products from the car auto audio shop.en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
90584.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons