Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/799
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | อารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ชุติมา รัตนบุรี, 2521- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T04:05:53Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T04:05:53Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/799 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบจำนวนวันที่ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจระหว่างผู้ป่วยที่ใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในการดูแลผู้ป่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจและผู้ป่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจตามวิธีเดิม และ (2) เปรียบเทียบความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพระหว่างก่อนและหลังใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในการดูแลผู้ป่วยหยาเครื่องช่วยหายใจ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย (1) ผู้ป่วยที่ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจที่ได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 40 คน จำแนกเป็นกลุ่มเปรียบเทียบ 20 คนที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจตามวิธีเดิมในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 ถึงเดือน เมษายน 2559 และกลุ่มทดลอง 20 คนที่ได้รับการดูแลโดยใช้แนวปฏิบัติทางคลีนิกในการดูแลผู้ป่วยหย่าเครื่องช่วยใจที่พัฒนาขึ้นในเดือนกรกฏาคม 2559 ถึงเดือนสิงหาคม 2559 โดยการจับคู่ด้วยอายุ เพศ และโรคของผู้ป่วยเข้าในแต่ละกลุ่มให้ใกล้เคียงกน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพซึ่งได้รับการตรวจความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.92 และค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.81 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบน มาตรฐาน ไคว์สแควร์ และสถิติทีสำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า (1) จำนวนวันที่ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจของผู้ป่วยที่ใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในการดูแลผู้ป่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจที่พัฒนาขึ้นน้อยกว่าจำนวนวันใช้ในผู้ป่วยที่ใช้แนวปฏิบัติตามวิธีเดิม และ (2) หลังใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในการดูแลผู้ป่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจที่พัฒนาขึ้นพยาบาลวิชาชีพมีความพึงพอใจสูงกว้าก่อนใช้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วย--การดูแล | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | พยาบาลกับผู้ป่วย--ไทย--นครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title | ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในการดูแลผู้ป่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจในหอผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title.alternative | es for caring of patients weaning from respiratory ventilation machines at the intensive care unit in Tung Song Hospital, Nakhon Si Thammarat Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this quasi-experimental research were: 1) to compare the number of days spent in liberation from respiratory ventilator machines between patients who received the clinical practice-guidelines for weaning from ventilator machines and patients who received traditional care and 2) to compare satisfaction of professional nurses between before and after using the clinical practice guidelines for caring patients weaning from respiratory ventilator machines at the intensive care unit in Thung Song hospital, Nakhon Si Thammarat province. The purposive sample included two groups. (1) A total of 40 patients who received endotracheal tube and respiratory ventilator machines which divided into a control group (20 patients) (collected data from February 2016 to August 2016) and an experimental group (20 patients) (collected data from July 2016 to August 2016). Patients in each group were matched according to age, gender, and underlying disease. (2) A total of 10 professional nurses who had been worked in the intensive care unit at Thung Song hospital. Research tools included a general data form, a weaning procedure evaluation form, and a satisfaction questionnaire for nurses. The satisfaction questionnaire was verified by 5 experts. The content validity index and the Cronbach’s alpha reliability coefficient of the satisfaction questionnaire were 0.92 and 0.81 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square test, and dependent t-test. The major findings were as follows. (1) The number of days spent in liberation from mechanical respiratory ventilator of patients who received the clinical practice-guidelines statistically less than patients who received traditional care (p < .001). Finally, professional nurses rated their satisfaction after using developed clinical practice-guidelines statistically higher than before (p < .001) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext 155198.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License