Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8005
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตตศุภางค์ ตันติภิรมย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัจฉริยะ แก้วเจริญ, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T04:13:56Z-
dc.date.available2023-07-20T04:13:56Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8005-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “การคุ้มครองสิทธิในการร้องทุกข์ของทหาร” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมาย แนวคิดสิทธิ เสรีภาพ และการร้องทุกข์ศึกษากฎหมายเกี่ยวกับสิทธิการร้องทุกข์ของทหารในประเทศไทย ศึกษาเปรียบเทียบสิทธิการร้องทุกข์ของทหารในต่างประเทศ และวิเคราะห์ประเด็นปัญหาการร้องทุกข์ และเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยวินัยทหารในเรื่องการร้องทุกข์ให้เกิดความเป็นธรรมและเหมาะสมยิ่งขึ้น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสาร ซึ่งได้รวบรวมจากตำรา หนังสือ บทบัญญัติของพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช 2476 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กฎหมาย กฎ ระเบียบว่าด้วยการร้องทุกข์ วิทยานิพนธ์ งานวิจัย และข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์จากเว็บไซต์ ผลการศึกษาพบว่า สิทธิในการร้องทุกข์ของทหาร กฎหมายได้มีการจำกัดเกินกว่าความจำเป็นตามการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ซึ่งการ ร้องทุกข์ถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่บุคคลพึงมีเท่าเทียมกันไม่ควรมีการจำกัดสิทธิ แต่สิทธิในการร้องทุกข์ ต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหารพุทธศักราช 2476 หมวด 4 เรื่องร้องทุกข์ มีข้อห้ามและจำกัดสิทธิในการร้องทุกข์ อีกทั้งยังไม่มีระบบการร้องทุกข์ที่ชัดเจน ไม่มีกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ หรือวิธีการร้องทุกข์ที่เป็นระเบียบเดียวกัน รวมทั้งไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิผู้ร้องทุกข์ โดยที่การตรากฎหมายเพื่อต้องการให้ทหารอยู่ในระเบียบวินัย แต่การใช้อำนาจนั้นควรกระทำเฉพาะเท่าที่จำเป็นและได้สัดส่วน จึงสมควรที่จะได้พิจารณาปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการร้องทุกข์ในพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช 2476 โดยไม่ควรมีข้อห้ามในการร้องทุกข์และให้มีบัญญัติถึงหลักเกณฑ์ของวิธีพิจารณาเรื่องร้องทุกข์หรือกฎว่าด้วยการร้องทุกข์ ของทหารให้เป็นระบบเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมและเหมาะสมสำหรับข้าราชทหารในลักษณะ ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งหมดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเอกสิทธิและความคุ้มกันทางการทหารth_TH
dc.subjectการร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาความแพ่ง)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการคุ้มครองสิทธิในการร้องทุกข์ของทหารth_TH
dc.title.alternativeThe protection of the rights to complain of military personnelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study on “The Protection of the Right to Complain of Military Personnel” are to study the definition and the concept of rights and liberty and the complaint; to study the laws relating to right to complain of the military personnel in Thailand; to compare the right to complain of military personnel in Thailand with that of military personnel in foreign countries and to analyze the issues concerning the complaint; and to make a recommendation to reform the law of military disciplines regarding the right to complain to be fair and appropriate. This study is a qualitative research by the documentation that is collected from textbooks, books, provisions of the Military Disciplines Act B.E. 2476, the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560, laws, rules and regulations concerning complaint, theses, research reports, and electronic data from web sites. The result reveals that the right to complain of military personnel under the law has been limited greater than necessity under the democratic system provided in the Constitution. Even though, the right to complain is one of the basic rights that the people shall enjoy equally, the right to complain under the Military Disciplines Act B.E. 2476 has been limited. Moreover, there is no explicit rule or procedure for complaint and no provision regarding the protection of the right to complain. It is acceptable that soldiers shall be treated strictly under the military discipline; however, the principles of necessity and proportionality should be taken into account. Consequently, it is reasonable to consider the reform of some provisions concerning the right of complain under the Military Disciplines Act B.E. 2476 to be systematic, fair, and appropriate under the same standarden_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons