Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8011
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอาทิตยา เกษากิจ, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T06:03:04Z-
dc.date.available2023-07-20T06:03:04Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8011-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “สิทธิประโยชน์ของข้าราชการพลเรือนสามัญภายหลังกลับคืนตำแหน่งเดิมตามคำพิพากษาศาลปกครอง” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และการกลับคืนสู่ตำแหน่งเดิมของข้าราชการพลเรือนของต่างประเทศ หลักเกณฑ์และวิธีการกลับคืนสู่ตำแหน่งเดิมของข้าราชการพลเรือนสามัญของประเทศไทย ศึกษามาตรการทางกฎหมายเพื่อเยียวยาแก่ข้าราชการพลเรือนที่กลับคืนสู่ฐานะเดิม การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎี บทบัญญัติของกฎหมาย และคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลปกครองสูงสุด รวมทั้งข้อมูลต่าง ๆ จากตำรา บทความทางวิชาการ งานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่า การกลับคืนสู่ตำแหน่งเดิมและได้รับคืนซึ่งสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ของข้าราชการพลเรือนสามัญตามคำพิพากษาศาลปกครอง ยังคงมีปัญหาในทางปฏิบัติ ซึ่งอาจเกิดจากคำบังคับของศาลปกครอง การไม่มีกฎหมายกำหนดวิธีการและหลักเกณฑ์ไว้ชัดแจ้งเกี่ยวกับการดำเนินการดังกล่าว และปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับมาตรการปรับกรณีหน่วยงานทางปกครองเพิกเฉยไม่ดำเนินการตามคำพิพากษาหรือดำเนินการล่าช้าเกินสมควร ซึ่งจากการศึกษาวิจัยได้เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาในการดำเนินการบรรจุให้ข้าราชการพลเรือนสามัญกลับคืนสู่ตำแหน่งเดิมและได้รับคืนสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ตามสิทธิ เพื่อให้สามารถเยียวยาแก้ไขความเดือดร้อนเสียหายของข้าราชการพลเรือนสามัญ โดยเสนอให้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน กฎหมายว่าด้วยการเลื่อนขั้นเงินเดือนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าราชการพลเรือนth_TH
dc.subjectคำพิพากษาศาลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleสิทธิประโยชน์ของข้าราชการพลเรือนสามัญภายหลังกลับคืนตำแหน่งเดิมตามคำพิพากษาศาลปกครองth_TH
dc.title.alternativeThe benefit of civil servants after returning to the original positions by judgments of the Administrative Courten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study on “The Benefits of Civil Servants after Returning to the Original Positions by Judgments of the Administrative Court” were to study the theoretical concepts and rules relating to the returning to the original positions of civil servants in foreign countries, the rules and procedures for returning to the original positions of the Thai civil servants and to study legal measures to remedy the civil servants restored to the original positions. This independent study was a qualitative research based on documentary research covering concepts, theories, laws, rulings and judgments of the Supreme Administrative Court, as well as relevant data from textbooks, academic journal articles, research reports, theses, and electronic media. The research results indicated that the returning to the original positions and benefits of the civil servants according to the judgment of Administrative Court still has problems on implementation in practice resulting from the decrees of Administrative Court and having no rule and measure of implementation, as well as the legal problem of penalty in cases where the government agencies ignore the judgment or improper delay process of implementation. From the research, there are suggestions for resolving the issues to relieve the damage of the civil servants and restoring their benefits by making proposal to amend the act on establishment of Administrative Court and Administrative Court procedure, the civil service act and the rules on salary promotionen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons