Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8014
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอาดัม รอเหมมัน, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T06:23:06Z-
dc.date.available2023-07-20T06:23:06Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8014-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ทฤษฎีและหลักการของการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจในสายงานสอบสวน ทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อนำมาวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจในสายงานสอบสวน และเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจในสายงานสอบสวน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลภายในประเทศและข้อมูลต่างประเทศ ค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารต่างๆ หนังสือ วารสารบทความ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และตัวบทกฎหมาย รวมทั้งวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาวิเคราะห์หาแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้องและเหมาะสมต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจในสายงานสอบสวนในปัจจุบัน สามารถแต่งตั้งข้าราชการตำรวจที่มิได้อยู่ในสายงานสอบสวน มาดำรงตำแหน่งในสายงานสอบสวนได้ ซึ่งในอดีตไม่สามารถแต่งตั้งได้ เนื่องจากจะส่งผลกระทบและสร้างปัญหาในด้านงานทำงาน เนื่องจากไม่มีประสบการณ์ในด้านงานสอบสวน ส่งผลให้ประชาชนขาดความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งในต่างประเทศก็เช่นกัน จะแต่งตั้งผู้ที่มีประสบการณ์ในด้านนั้นๆมาปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น โดยจะทำให้ได้บุคคลกรที่มีความรู้ความสามารถและเชี่ยวชาญในงานสอบสวนโดยการเฉพาะ ซึ่งแนวทางในการแก้ไขปัญหา จำเป็นต้องมีการยกเลิกคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 7/2559 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559 เรื่อง การคัดเลือกหรือการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจ และนำเรื่องการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจในสายงานสอบสวนตามพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 มาใช้เช่นเดิม ซึ่งจะสามารถแก้ไขปัญหาการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจในสายงานสอบสวนได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectตำรวจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจในสายงานสอบสวนth_TH
dc.title.alternativeAppointment of the police officials in inquiry fielden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is to study background, theory and principle of the appointment of the police officials in inquiry field both of Thailand and foreign countries for analyzing the problems and obstacles in appointment of the police officials in inquiry field, and propose the corrective guideline for the problem relating to the appointment of the police officials in inquiry field. This independent study is a qualitative research using documentary research method by collection of domestic data and foreign data, search of data from the documents, books, journals, articles, electronic databases, and articles of law, as well as the relevant thesis for analyzing to further finding the proper and appropriate corrective and improvement guideline. The finding of the studying result indicated the current problem in appointment of the police officials in inquiry field that the police officials who have not been in inquiry field could be appointed to hold the office in inquiry field. In the past, it has been impossible for such appointment since it would have an impact and create problem in the work and working aspect due to no experiences in inquiry area, resulting in the people’s lack of the confidence in process of justice. This has been the same in foreign countries that the experienced persons in that area will be appointed to perform the duty only, resulting in the acquisition of the personnel with specific knowledge, competence, and expert in inquiry. According to the corrective guideline of the problem, it has been necessary for repealing the order of National Council for Peace and Order No. 7/2559 dated 5 February 2016 on selection or appointment of the police officials, and applied the matter of the appointment of the police officials in inquiry field in accordance with the National Police Act B.E. 2547 (2003) as before. This can solve the problem in appointment of the police officials in inquiry fielden_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons