Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8016
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิริพันธ์ พลรบ | th_TH |
dc.contributor.author | เอกชัย คำใส, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-20T06:33:50Z | - |
dc.date.available | 2023-07-20T06:33:50Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8016 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความหมาย แนวคิดทฤษฎี วิธีการ และหลักเกณฑ์ในการจัดทำบริการสาธารณะท้องถิ่นรูปแบบสหการของเทศบาลในประเทศไทยเทียบเคียงกับของต่างประเทศ คือ ประเทศฝรั่งเศส (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดตั้งสหการของเทศบาลในประเทศไทย และ (3) เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการจัดตั้งสหการของเทศบาลในประเทศไทย ในการศึกษานี้ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Reserch) ประเภทการวิจัยเอกสาร (Documentary Reserch) โดยวิธีการรวบรวมเอกสารจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ หนังสือ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความทางวิชาการ ตัวบทกฎหมาย สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการจัดตั้งองค์การรูปแบบของสหการ เพื่อจัดทำภารกิจหรือบริการสาธารณะท้องถิ่นทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ โดยนำข้อมูลที่ได้มาแยกแยะ แจกแจง จัดหมวดหมู่ และทำการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อหาข้อสรุปและนำมาเป็นข้อมูลในการพัฒนากฎหมายเกี่ยวกับการจัดตั้งสหการของเทศบาลในประเทศไทยต่อไป ผลการศึกษาพบว่า (1) มีข้อจำกัดทางกฎหมายในการให้อำนาจจัดตั้งสหการของเทศบาล โดย เทศบาลจะดำเนินการจัดตั้งสหการได้ก็แต่เฉพาะกับเทศบาลด้วยกันเท่านั้น ซึ่งไม่สอดคล้องกับรูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีอยู่ (2) แนวความคิดจัดตั้งองค์การรูปแบบสหการของเทศบาล นำแบบอย่างการจัดตั้งสหการของเทศบาลในประเทศฝรั่งเศสมาใช้โดยขาดความรู้ความเข้าใจ และประสบการณ์ ในเรื่องดังกล่าว (3) นโยบายฝ่ายปกครองหรือรัฐบาล และผู้บริหารเทศบาลไม่ให้ความสนใจในการพัฒนาเครื่องมือหรือวิธีการในการจัดทำกิจการบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะการจัดองค์การดำเนินการร่วมกันในรูปแบบสหการ (4) วิธีการในการจัดตั้งสหการของเทศบาลมีความยุ่งยากและ ใช้เวลาดำเนินการมาก (5) แนวความคิดในการบริหารจัดการภารกิจหรือกิจการบริการสาธารณะของเทศบาล มีลักษณะรวมศูนย์อำนาจ (6) ประชาชนขาดการเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น จากผลการศึกษาดังกล่าว จึงควรมีการกำหนดโครงสร้างและระบบการบริหารจัดการสหการของเทศบาล โดยจะต้องกำหนดให้สหการของเทศบาลมีได้หลายรูปแบบ นอกจากนี้ ทุกภาคส่วนจะต้องร่วมกันผลักดันให้มีการจัดตั้งและพัฒนาการจัดตั้งองค์การรูปแบบสหการของเทศบาล เพื่อสนองตอบต่อการจัดทำกิจการบริการสาธารณะของเทศบาลที่หลากหลายและแตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชากฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | บริการสาธารณะท้องถิ่น | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | การจัดทำบริการสาธารณะท้องถิ่นรูปแบบสหการของเทศบาลในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Preparation of a local public service syndicate of municipalities in Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study were to: (1) study the theories, methods and guidelines for the preparation of a local public service syndicate of municipalities in the country and compare to that of France; (2) analyze the problems and difficulties in establishing the syndicate of municipalities in the country; and (3) propose a proper solution in establishing the syndicate of municipalities in the country. This study was a legal qualitative research conducted through a documentary research by collecting data and academic analysis from various sources including legislations, books, reserch thesis and the printed electronics relating a form of cooperation mission to provide local public services, both domestically and internationally. The data were analyzed to identify categories for analysis and synthesis, and bring to a conclusion as to the law regaring the syndicate of municipalities in the country. The study findings were as follows. (1) There has been a limitation to legal provisions that only municipality may establish a syndicate which is not consistent with the present model of local government. (2) The syndicate model in France has been introduced into Thai law by the lacking of understanding and experience about that. (3) The administrative or government policy and municipal administrators do not pay attention to the development of tools or methods for the preparation of local government public services as well as the organization of co-operation in the syndicate. (4) How to establish a syndicate of municipalities is complicated and takes a lot of time. (5) The concepts in the management or operation of public service mission of municipalities still emphasize on centralization of power. (6) There is a lack of public participation in local government. According to the results of such studies, it should have a guild line on structure and management of syndicate to the municipalities. This is also proposed that syndicates of municipalities have various forms and all sectors should jointly push for the establishment and development of the organizational form the syndicate of municipalities in response to the preparation of public services and a variety of municipalities. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License