Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/801
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณวิภา เมืองถ้ำ | th_TH |
dc.contributor.author | สรวุฒิ เกษมสุข, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T04:11:13Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T04:11:13Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/801 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคําศัพท์และความหมายที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางจิตในทางสังคม กฎหมาย และการแพทย์การใช้คําศัพท์ นิยาม การใช้และตีความทางกฎหมายเกี่ยวกับ ความผิดปกติทางจิตในกฎหมายอาญาของไทยและต่างประเทศเพื่อเสนอแนวทางการใช้คําศัพท์ นิยาม แนวทางการใช้และตีความทางกฎหมายเกี่ยวกับความผิดปกติทางจิตในทางกฎหมายอาญา รวมถึงแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางจิต การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากหนังสือ ตํารา บทบัญญัติกฎหมาย แห่งรัฐ คําพิพากษา วิทยานิพนธ์ทางกฎหมาย บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางกฎหมายและทางการแพทย์ที่เกี่ยวกับความผิดปกติทางจิต ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผลการวิจัยพบว่า คําศัพท์ที่สําคัญในกฎหมายอาญาของไทยที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางจิตในกฎหมายอาญาของไทย ได้แก่ “วิกลจริต” หมายถึง การมีความสามารถในทางกฎหมายที่บกพร่อง ไม่สมบูรณ์เนื่องจากความผิดปกติทางจิต “โรคจิต” หมายถึง อาการของโรคจิตในทางจิตเวชศาสตร์ “จิตบกพร่อง” หมายถึงความผิดปกติทางจิตที่เกิดจากความผิดปกติทางสมองและระบบประสาท และ “จิตฟั่นเฟือน” หมายถึงความผิดปกติทางจิตอื่นๆ นอกเหนือจากสองประเภทข้างต้น นิยามของความ ผิดปกติทางจิตในทางกฎหมายอาญาหมายถึง ความสามารถในการรู้ผิดชอบหรือความสามารถในการบังคับตนเองที่บกพร่องไม่สมบูรณ์เนื่องจากมีความผิดปกติทางจิต การตีความว่าเป็นความผิดปกติทางจิต หรือไม่ในทางกฎหมายอาญา ใช้ความเชื่อทางสังคม พยานหลักฐาน ประกอบกบหลักเหตุผลในทางกฎหมายและใช้หลักการพิสูจน์เจตนาจากความสามารถในการรู้ผิดชอบและความสามารถในการบังคับตนเองการวิจัยนี้มีข้อเสนอว่าในกฎหมายอาญาควรใช้คําที่มีความหมายถึงความผิดปกติทางจิตเพียงแบบเดียว ควรใช้นิยามของความผิดปกติทางจิตตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 แต่ไม่ควรรวมไปถึง ความผิดปกติทางจิตที่เกิดจากสารเสพติด ความรับผิดทางอาญาควรพิจารณาจากความสามารถโดยรวม ในการแสดงเจตนาของผู้ที่มีความผิดปกติทางจิตและควรนําวิธีการอื่นที่เหมาะสมมาใช้เสริมหรือทดแทน โทษทางอาญา โดยเฉพาะการบําบัดรักษาอยางเหมาะสม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.77 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | จิตผิดปกติ | th_TH |
dc.subject | กฎหมายอาญา | th_TH |
dc.subject | ความวิกลจริต | th_TH |
dc.subject | กฎหมายอาญา--การตีความ--ไทย | th_TH |
dc.title | ความผิดปกติทางจิตในกฎหมายอาญา : ศึกษาเฉพาะคำศัพท์ นิยาม และการตีความทางกฎหมาย | th_TH |
dc.title.alternative | Mental disorder in criminal law : terminology, definitions and interpretations | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2017.77 | en_US |
dc.identifier.url | สุพัตรา แผนวิชิต | th_TH |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.77 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study vocabulary and meaningsin society, law and medicine related to mental disorders, to study the terminology, definitions and legal interpretations of mental disorders in Thai and foreign law, to propose guidelines for the use of terminology, definitions, and legal interpretations of mental disorders in criminal law. Moreover, this research aims to propose guidelines to amend the Criminal Code in relation to mental disorders. The method of this study is a qualitative research and a documentary research by analyzing the documents from provisions of law, court judgments, textbooks, books, scholarly documents, research papers and others related information.The research found that the key words in Thai criminal law related to mental disorders include “Wikoncharit” or "Insanity" means incomplete legal capacity due to mental disorders. "Rokchit" refers to the psychosis symptom in psychiatry, "Chit Bokphrong” refers to mental disorders caused by neurological disorders and "Chit Fanfuean" refers to other mental disorders other than the two types above. The definition of the mental disorder in the Thai criminal law refers to the defective or incomplete ability in conscience or self-control due to mental disorders. The criminal law defines mental disorder based on social beliefs, evidence, and legal reasons. Further, the criminal intention proving is based on ability in conscience and selfcontrol. This research suggests that the criminal law should use the only one legal term to refer to all mental disorders. The definition of mental disorder in the Thai criminal law should be used in accordance with the Mental Health Act BE 2551 but should not include substance-related disorder. Criminal liability should be considered by the overall ability to show the criminal intention of the mental disorder person. Other appropriate means should be used to supplement or replace the usual criminal penalties, including to emphasis on proper medical treatment | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุพัตรา แผนวิชิต | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesebib158658.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 23.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License