Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8021
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ,อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลัดดาวัลย์ แสงบุตร, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T07:06:24Z-
dc.date.available2023-07-20T07:06:24Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8021-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บัตรสินเชื่อเกษตรกรของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดมหาสารคาม และ (2) ส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บัตรสินเชื่อเกษตรกรของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดมหาสารคาม การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรที่ได้รับบัตรสินเชื่อเกษตรกรลูกค้ากับธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร จังหวัดมหาสารคาม โดยไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างได้ จำนวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็นอย่างง่าย ใช้แบบสอบถามเป็น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมการใช้บัตรสินเชื่อเกษตรกรของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดมหาสารคาม มีความถี่ในการใช้บัตรสินเชื่อเกษตรกร 2-3 ครั้งต่อปี ช่วงเวลาในการใช้บัตรสินเชื่อเกษตรกรส่วนมากใช้ในช่วงสาย เวลา 09.01-12.00 น. สินค้า ที่ซื้อผ่านบัตรสินเชื่อเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นปุ๋ย การใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้าผ่านบัตรสินเชื่อ เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้วงเงินประมาณ 1,000-3,000 บาทต่อครั้ง เหตุผลในการตัดสินใจใช้บัตรสินเชื่อ เกษตรกรคือ มีสินค้าตามต้องการ และ (2) ส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้บัตร สินเชื่อเกษตรกรของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดมหาสารคาม โดยรวมอยู่ ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการจัดจำหน่าย และด้านลักษณะทางกายภาพ มีผลต่อ พฤติกรรมมากตามลำดับ ส่วนด้านที่มีผลต่อพฤติกรรมน้อยที่สุดคือ ด้านการส่งเสริมการตลาดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสินเชื่อเกษตร--ไทย--มหาสารคามth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บัตรสินเชื่อเกษตรกรของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดมหาสารคามth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting customers' usage credit card behavior of Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives in Mahasarakarm Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were to study: (1) personal factors affecting customers’ usage credit card behavior of Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives in Mahasarakarm Province; and (2) the marketing mix influencing customers’ usage credit card behaviorof Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives in Mahasarakarm Province. This study was a survey research. The population in the study was unknown population size of credit card customers of Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives in Mahasarakarm Province. The sample size was 400 people using convenient sampling. Questionnaires were used to collect data. The statistics used for data analysis were percentage, mean and standard deviation. The results showed that: (1) the majority of respondents used credit cards 2-3 times per year during 9:01 to 12:00 am to purchase fertilizers. The average expenses of credit card purchases were about 1,000-3,000 baht per time. The reasons why they used credit cards was that there were goods available on demand. (2) The overall level of the marketing mix factors affecting customers’ usage behavior was at a high level. Distribution and physical attributes were at the highest level and the marketing promotion was at the lowest levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_141027.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons