Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8029
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุกฤษฏ์ ตัณตรีบูรณ์, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T07:41:26Z-
dc.date.available2023-07-20T07:41:26Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8029-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีสัญญาทางปกครองโดยศาลปกครองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แนวความคิด ทฤษฎีทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครอง (2) แนวความคิดทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครองในระบบกฎหมายประเทศไทย โดยเฉพาะสัญญาทางปกครอง (3) วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการนำการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทมาใช้ในคดีเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง และ (4) ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง ในส่วนที่เกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสารจากตำรา บทความ เอกสารวิจัย วารสารทางกฎหมาย คำพิพากษาของศาล กฎหมายต่างประเทศ และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 และระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2543 ซึ่งเป็นกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง ไม่ได้บัญญัติให้อำนาจแก่ศาลปกครองดำเนินการไกล่เกลี่ยคดีปกครองเพื่อให้คู่ความประนีประนอมยอมความกัน ศาลปกครองจึงไม่สามารถดำเนินการไกล่เกลี่ยคดีปกครองได้ ซึ่งจากการศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับการนำกระบวนการไกล่เกลี่ยมาใช้ในการระงับข้อพิพาทในคดีเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง ผู้ศึกษา มีความเห็นว่า ควรให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง โดยศาลปกครองอาจให้ตุลาการศาลปกครองเป็นผู้ไกล่เกลี่ยก็ได้ แต่ตุลาการศาลปกครองที่ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยไม่ควรจะเป็นตุลาการคนเดียวกับตุลาการที่เป็นองค์คณะในการพิจารณาพิพากษาคดีนั้น และเมื่อการไกล่เกลี่ยประสบผลสำเร็จ ข้อตกลงที่ได้จากการไกล่เกลี่ยอาจทำเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ เพื่อให้ศาลปกครองพิจารณาพิพากษาตามยอมก็ได้ ทั้งนี้ ผู้เขียนขอเสนอแนวทางว่า ควรมีการยกร่างพระราชบัญญัติเพิ่มเติมบทบัญญัติในพระราชบัญญัติดังกล่าว โดยกำหนดให้ศาลปกครองชั้นต้นมีอำนาจในการไกล่เกลี่ยคดีปกครองได้ แต่มีขอบเขต หรือข้อจำกัดให้ไกล่เกลี่ยได้เท่าที่คู่กรณีสามารถปฏิบัติการในเรื่องที่เป็นเหตุแห่งการฟ้องคดีได้ และจะต้องไม่กระทบต่อประโยชน์สาธารณะ อีกทั้งกำหนดให้ศาลปกครองมีอำนาจในการพิพากษาตามยอมได้เมื่อพิจารณาเห็นว่า ข้อตกลงประนีประนอมยอมความของคู่กรณีเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายและไม่กระทบต่อประโยชน์สาธารณะth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิธีพิจารณาคดีปกครองth_TH
dc.subjectการไกล่เกลี่ยth_TH
dc.titleการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีสัญญาทางปกครองโดยศาลปกครองth_TH
dc.title.alternativeThe mediation in administrative cases by the Administrative Courten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe independent research titled “Mediation in Administrative Cases by the Administrative Court” has the following objectives: (1) to study legal concepts and theories of mediation in general disputes and administrative disputes; (2) to study legal concepts concerning mediation in administrative cases in the Thai legal system, especially in administrative contracts; (3) to analyze problems related to the mediation in administrative cases; and (4) to recommend amendment of laws on administrative procedure in the part of mediation in administrative contracts. The independent research is qualitative research. Documents from legal textbooks, articles, research papers, legal journals, court decisions, foreign laws, and other related documents were studied. It was found that the Act on Establishment of Administrative Courts and Administrative Court Procedure, B.E. 2542 (1999) and Rule of the General Assembly of Judges of the Supreme Administrative Court on Administrative Procedure, B.E.2543 (2000), as the main legislative act on administrative procedure, do not empower the Administrative Courts to conduct mediation in administrative cases. As a result, the Administrative Courts do not have power to mediate administrative cases. In the study and analysis of mediation in administrative cases, the author views that mediation in administrative contract cases should be done by an administrative judge as a mediator. However, the administrative judge who is the mediator should not be the same administrative judge in court case proceeding. In addition, when the mediation is fulfilled, the agreement from the mediation can become compromise settlement with consent judgment from the Administrative Court. The author suggests that there should be amendment of Act on Establishment of Administrative Courts and Administrative Court Procedure, B.E. 2542 (1999) by empowering the Administrative Court of First Instance to conduct mediation in administrative cases with certain conditions as practicable by both parties, while maintaining the public interest. Moreover, it is recommended that the Administrative Courts should be empowered to render consent judgment when the Court considers that the compromise settlement is lawful and does not affect the public interesten_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons