Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8031
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิราพร สุทันกิตระ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเอกลักษณ์ สุวรรณชัย, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T07:49:17Z-
dc.date.available2023-07-20T07:49:17Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8031-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง ระยะเวลาการฟ้องคดีปกครองในกรณีที่ต้องวินิจฉัยในเรื่องกรรมสิทธิ์มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักเกณฑ์และลักษณะของการใช้สิทธิติดตามเอาคืนซึ่งทรัพย์สินตามมาตรา 1336 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่มีข้อพิจารณาเกี่ยวกับคดีปกครองที่มีประเด็นเกี่ยวพันกันเฉพาะกรณีที่ต้องวินิจฉัยในเรื่องกรรมสิทธิ์ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิธีการศึกษาจะใช้การค้นคว้าวิจัยทางเอกสารเกี่ยวกับหลักเกณฑ์เรื่องอายุความหรือระยะเวลาการฟ้องคดีปกครองและการใช้กรรมสิทธิ์ ตามมาตรา 1336 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบจากแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับอายุความหรือระยะเวลาการฟ้องคดีปกครอง และหลักแห่งกรรมสิทธิ์ตามมาตรา 1336 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ตามกฎหมายไทยและต่างประเทศ ผลการศึกษาค้นคว้าอิสระพบว่า การใช้สิทธิติดตามเอาทรัพย์สินคืนตามมาตรา 1336 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในคดีปกครอง ต้องเป็นการฟ้องคดีพิพาททางปกครองตามมาตรา 9 แห่ง พรบ. จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 โดยเป็นการฟ้องคดีที่ผู้ฟ้องคดีเป็นเจ้าของทรัพย์สินในขณะยื่นฟ้องคดี ซึ่งคำฟ้องมีลักษณะที่ผู้ฟ้องคดีนั้นเป็นเจ้าของหรือมีสิทธิจากการเป็นเจ้าของโดยใช้สิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย์สินของตนจากบุคคลผู้ไม่มีสิทธิจะยึดถือไว้ที่มีข้อโต้แย้งกรรมสิทธิ์หรือขอให้ศาลรับรองสิทธิในทรัพย์สินนั้น ส่วนคำฟ้องที่ไม่ถือว่าประเด็นพิพาทหลักเป็นเรื่องของหลักกรรมสิทธิ์แต่คำฟ้องนั้นประเด็นพิพาทหลักเป็นกรณีพิพาททางปกครอง คำฟ้องนั้นจะมีลักษณะขอให้ศาลปกครองตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายในการกระทำทางปกครอง โดยมีคำขอท้ายท้ายฟ้องขอให้ศาลปกครองเพิกถอนการกระทำการทางปกครอง ขอให้กระทำการตามหน้าที่ หรือขอให้ชดใช้ค่าเสียหาย โดยที่ผู้ฟ้องคดีไม่อาจอ้างหรือไม่ได้อ้างอำนาจของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ขอให้หน่วยงานทางปกครองนั้นคืนทรัพย์สินที่ยึดถือไว้โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการฟ้องth_TH
dc.subjectกรรมสิทธิ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleระยะเวลาการฟ้องคดีปกครองในกรณีที่ต้องวินิจฉัยในเรื่องกรรมสิทธิ์th_TH
dc.title.alternativeAdministrative action entry terms for administrative cases in the event of decision on ownershipen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study on administrative action entry terms for administrative cases in the event of decision on ownership aims to study criteria and methods of exercising the right to recover properties under Section 1336 of the Civil and Commercial Code in respect of administrative cases regarding ownership decision, criteria, and considerations as pertinent to action entry term for administrative case with involving issue only in the event to be decided on ownership. This independent study is a qualitative research. Documents on case terms or administrative action entry terms of criminal cases and exercise of the right under Section 1336 of the Civil and Commercial Code were studied. Concepts and theories regarding case terms or administrative action entry terms of criminal cases and exercise of the right according to Thai and foreign laws were analyzed and compared. According to the independent study, an exercise of rights to recover properties under Section 1336 of the Civil and Commercial Code in administrative cases must be prosecution of disputes according to Section 9 of Act on Establishment of Administrative Court and Court Procedures B.E. 2542, whereby the plaintiff owns the property during filing legal proceedings. According the plaint, the plaintiff owns or has the owner’s right to exercise the right to recover the property from the persons not entitled to detain it with dispute against the ownership or to request the court to certify the right in the said property. The complaint is not deemed as an issue in disputes on ownership but such complaint had issues in dispute in an administrative case. The administrative court shall be requested to examine the lawfulness in the administrative action by having application attached to the plaint to ask the administrative court to revoke the administrative action and to comply with duties or to give indemnification, whereby the plaintiff is unable to cite or does not cite the power of the ownership in the property, requesting the administrative agency for recovering the property so illegally helden_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons