Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8033
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | สมศักดิ์ แหลมภูทอง, 2504- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-20T07:55:43Z | - |
dc.date.available | 2023-07-20T07:55:43Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8033 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ของพนักงาน (2) ศึกษาระดับของความสำเร็จในการปฏิบัติงานของพนักงาน (3) เปรียบเทียบความคิดเห็น ปัจจัยส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของพนักงาน จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่งผลต่อความสำเร็จกับระดับความสำร็จของการปฏิบัติงานของพนักงาน และ(5) ศึกษาแนวทางการปรับปรุงการปฏิบัติงานของพนักงาน การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ พนักงานในสำนักงานบริการลูกค้า กสท เขตตะวันตก จำนวน 175 คน โดยกลุ่มตัวอย่างได้จากการคำนวณตามสูตรของ ยามาเน่ จำนวน 122 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบมาตรประมาณค่าของลิเคิร์ท สถิติที่ ใช้ในการศึกษา คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย เลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว และ การทดสอบความสัมพันธ์โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก และอยู่ในระดับมากทุกๆ ปัจจัย โดยค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ปัจจัยด้านการฝึกอบรมและพัฒนา และค่าเฉลี่ย ต่ำสุดได้แก่ การมีส่วนร่วมและความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงาน (2) ระดับความสำเร็จในการปฏิบัติงาน โดยรวมอยูในระดับมาก และระดับความสำเร็จอยู่ในระดับมากทุกๆ ปัจจัย โดยค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ปัจจัย ด้านการพัฒนาตนเองและค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่ ด้านนวัตกรรม (3) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นปัจจัยส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของพนักงาน จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล พบว่า มีความแตกต่าง ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา รายได้ต่อเดือน ประสบการณ์การทำงาน ตำแหน่งหน้าที่ในการปฏิบัติงาน และ สถานภาพสมรส อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่งผลต่อ ความสำเร็จกับระดับความสำเร็จในการปฏิบัติงานพบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 และ (5) หน่วยงานควรปรับปรุงการจัดการการดำเนินงานให้มีความคล่องตัวให้มากยิ่งขึ้น และทำให้ผู้ปฏิบัติงานเน้นการบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | บริษัท กสท โทรคมนาคม--พนักงาน | th_TH |
dc.subject | พนักงานการสื่อสารแห่งประเทศไทย--การทำงาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของพนักงานสำนักงานบริการลูกค้า กสท เขตตะวันตก บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting employees work performance success at CAT Customer Service Office - Western District, CAT Telecom PLC | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to study (1) production planning system of Shinpack (Thailand) Co.,Ltd.; and (2) production planning process of Shinpack (Thailand) Co.,Ltd. This study were to study the primary data by interviewing the supervisors and employees of Shinpack (Thailand) Co.,Ltd. and study business process, production planning. The secondary data was to study academic data for framing concepts and procedures of production planning manual of Shinpack (Thailand) Co.,Ltd. The result of the study showed that (1) the production planning system of Shinpack (Thailand) Co.,Ltd. was a short-term planning and updated every day although the short-term planning were focused on production planning management with high flexibility, consistent with the manufacturing process, production planning, allocation of production resource and labor, machine or equipment to produce by delegated within a defined time interval. These methods were working on the delegated of efficiency production; and (2) the production planning process of Shinpack (Thailand) Co.,Ltd. had 4 steps as follows: 1) local planning production was a planning for majority machine of a lid and platform by planning for all majority machine and all supporting machine 2) production planning of top cover process, this planning was for top cover machine which planned for each jobs and groups into each machine continuously until the process was done 3) production planning for quality products, this planning was for the quality products as customers’ packaging in the way of routing machinery planning with the different patterns and quantity and 4) the other production planning from those 3 steps, this planning was for all productions machinery which made responsibility for production as an added production or more from the production that it took a long time for setting the production planning to each machine. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
132302.pdf | 21.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License