Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8052
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยุทธนา ธรรมเจริญ | th_TH |
dc.contributor.author | สิริลักษณ์ แซ่จิว, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-21T06:37:44Z | - |
dc.date.available | 2023-07-21T06:37:44Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8052 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะส่วนบุคคลของผู้บริโภคที่ซื้อเนื้อสุกรในตลาดสดวิบูลย์ศรี และ (2) หาระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดของผู้บริโภคเนื้อสุกรในตลาดสดวิบูลย์ศรี ประชากรคือ ผู้ใช้บริการตลาดสดวิบูลย์ศรีในช่วงเดือนมีนาคม ถึง เดือนเมษายน 2554 โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ที่เป็นผู้บริโภคที่ซื้อเนื้อสุกรในตลาดสดวิบูลย์ศรี เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้บริโภคที่ซื้อสุกรในตลาดสดวิบูลย์ศรีส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 36-46 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือนมากกว่า 20,000 บาท ประกอบ อาชีพธุรกิจส่วนตัว/ค้าขาย และ (2) ความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมการตลาดเขียงหมู มีปัจจัยย่อยที่ได้ค่าคะแนนจากมากไปหาน้อยคือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์เช่น ผลิตภัณฑ์มีให้เลือกหลากหลายชนิด มีความครบถ้วนของสินค้า ความเที่ยงตรงของเครื่องชั่งเนื้อสุกร ความสด-ใหม่ของเนื้อและชิ้นส่วนอื่นๆ ของสุกร ปัจจัยด้านสถานที่และทำเลที่ตั้ง เช่น ความสะดวกในการเลือกซื้อการจัดเรียงของสินค้าแยกประเภทชัดเจน ปัจจัยด้านราคา เช่น เนื้อสุกรราคาเหมาะสมกบคุณภาพ ป้ายราคาของสินค้าชัดเจน ปรับลดราคาตามสัดส่วนปริมาณการซื้อสินค้า ราคาสามารถต่อรองได้ และ ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด เช่น มีสินค้าจำหน่ายตามช่วงเทศกาล ความน่าเชื่อถือของร้านจำหน่าย ความรวดเร็วในการให้บริการ การจัดวางสินค้าให้น่าซื้อ การรับประกนความสดใหม่ของ เนื้อสุกร การโฆษณาร้านค้า การจัดจำหน่ายราคาพิเศษ และพนักงานขายให้คำแนะนำ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | ตลาดสดวิบูลย์ศรี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ผู้บริโภค--ไทย--สงขลา | th_TH |
dc.subject | สุกร--การตลาด | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมการตลาดเขียงหมูตลาดสดวิบูลย์ศรี อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ | th_TH |
dc.title.alternative | Consumers' opinion toward marketing mix of fresh pork market of Wiboonsri Market, Muang District, Samutprakarn Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to investigate: (1) the characteristics of fresh pork consumers at Wiboonsri Market; and (2) the significant levels of marketing mixed factors of consumers purchasing fresh pork at Wiboonsri Market. The subjects were 400 consumers selected from Wiboonsri Market during March to April 2011. The instrument in the study was a questionnaire. The statistics used in analyzing the data were percentage, mean, standard deviation, and Chisquare. The results of the study showed that: (1) most of the consumers were female, whose average age was 36-46 years old. Most of them graduated in the Bachelor Degree. Their monthly incomes were more than 20,000 baht. Most of them had their own business/trade; and (2) the significant levels of marketing mixed factors in purchasing fresh pork was at the moderate level. Ranking each factor from the highest to the lowest level was the product, the location, the price, and the marketing promotion factors, respectively. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
128652.pdf | 11.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License