Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8062
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุจินตนา ชุมวิสูตร | th_TH |
dc.contributor.author | ชาญศักดิ์ พิริยจิตรกรกิจ, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-21T07:04:22Z | - |
dc.date.available | 2023-07-21T07:04:22Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8062 | en_US |
dc.description.abstract | การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความเป็นมา หลักการ ระบบ การดำเนินคดีอาญา และระบบอัยการสากล ศึกษาการดำเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการไทย และต่างประเทศ และการเปรียบเทียบอำนาจหน้าที่ วิเคราะห์ปัญหาการสอบสวนคดีอาญา หาแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาต่อไปให้พนักงานอัยการมีอำนาจในการสอบสวน หรือกำกับดูแลการสอบสวนของพนักงานสอบสวน เพื่อให้การรวบรวมพยานหลักฐานเป็นไปโดยถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว และเป็นการคานอำนาจในการร่วมกันปฏิบัติหน้าที่ระหว่างเจ้าพนักงานตำรวจ และพนักงานอัยการ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นตัวบทกฎหมายของประเทศไทยและต่างประเทศ ตำรา บทความ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ งานวิจัย และข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศแล้วมานำมาวิเคราะห์หาแนวทางแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการสอบสวนคดีอาญา ผลการศึกษาพบว่าบรรดาอารยประเทศมีองค์กรของรัฐทำหน้าที่ในรูปแบบของอัยการสากล ซึ่งอัยการมีอำนาจหน้าที่ในการสอบสวนคดีอาญา และการฟ้องร้องคดีอาญา โดยมีลักษณะของการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างองค์กรตำรวจ และองค์กรอัยการ โดยอัยการจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับคดีอาญาตั้งแต่เริ่มต้นคดีจนถึงการบังคับโทษตามคำพิพากษา แต่สำหรับพนักงานอัยการของประเทศไทยจะมีอำนาจหน้าที่ในการสอบสวนคดีอาญาภายหลังที่พนักงานสอบสวนดำเนินการสอบสวนเสร็จสิ้นแล้ว เมื่อพนักงานอัยการสั่งให้สอบสวนเพิ่มเติม จึงเป็นการเพิ่มเติมระยะเวลาในการสอบสวน ทั้งยังทำให้ไม่อาจรวบรวมพยานหลักฐานที่ยังขาดตกบกพร่องได้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การสืบสวนคดีอาญา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | การเข้าร่วมสอบสวนคดีอาญาของพนักงานอัยการ | th_TH |
dc.title.alternative | Participation of public prosecutor in a criminal investigation | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this independent research are to study the history and the concepts of criminal proceeding, background of the Criminal Procedure system and the International Attorney System. To study the prosecution process of Thai public prosecutors and abroad. To analyze the problem of criminal investigation; finding an approach to amend the Criminal Procedure Code to empower public prosecutors and promote the effectiveness of criminal evidence gathering along with the accuracy and the completeness of the collection. Moreover, the cited authorities also be a method to check and balance the operation of the inquiry officials and the public prosecutors. This study is a qualitative research based on documentary study on a data compilation and analysis of related provision of law, legislation, research reports, journal articles, various electronic data, internet and legal concept on Thai law and Foreign Law. The research results found that in other countries, public prosecutors have the authorities to investigate and prosecute criminal cases by the cooperation with inquiry officials. Public prosecutors shall involve in criminal case from the beginning to the end of the process including the enforcement of the court sentence. On the contrary, public prosecutors of Thailand will enter into criminal case only when the inquiry official have made the opinion that the inquiry is complete and send the inquiry file to the public prosecutor. Thai public prosecutors merely have authority to direct the inquiry official to make additional inquiry. Such further investigation may prolong duration of investigation and may also defect the efficiency of evidence collection. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License