Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8070
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชาญ เพิ่มไทย, 2493--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-21T07:34:00Z-
dc.date.available2023-07-21T07:34:00Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8070-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มวัยรุ่นในจังหวัด พิษณุโลกที่ชี้อขนมกรอบ (2) ศึกษาพฤติกรรมการชี้อขนมกรอบของกลุ่มวัยรุ่นในจังหวัดพิษณุโลก (3) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการชี้อขนมกรอบของกลุ่มวัยรุ่นใน จังหวัดพิษณุโลก วิธีดำเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กลุ่มวัยรุ่นชายและหญิงในจังหวัดพิษณุโลก อายุ 12-21 ปี ได้กลุ่มตัวอย่างเพื่อการวิจัย 400 คน โดยแบ่งตามสัดส่วนของประชากรวัยรุ่นกระจายไปยังอำเภอต่าง ๆ ของจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 9 อำเภอ เครื่องมือที่ใช้สำหรับการวิจัย เป็นแบบสอบถามให้เลือกตอบ จากข้อคำถามทั้งหมด 37 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติร้อยละ และทดสอบสมมุติฐานที่ทั้งไว้โดยใข้วิธีของไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเพศหญิง เพศชาย อายุระหว่าง 12-14 ปี มากที่สุด (1) ผู้ตอบแบบสอบถามทุกคนรับประทานขนมกรอบ ซื้อขนมกรอบที่ร้านค้าใกล้บ้าน ความถี่ในการรับประทานขนมกรอบ 2-3 วันต่อครั้ง รับประทานขนมกรอบเพราะความอร่อย รับประทานขนมกรอบหลังอาหารกลางวัน ชอบขนมกรอบประเภทมันฝรั่งทอดกรอบ ให้ ความสำคัญกับวันผลิตและวันหมดอายุของขนมกรอบก่อนซื้อ เห็นว่าราคาขายของขนมกรอบมี ความเหมาะสม ผู้ขายขนมกรอมควรจัดวางขนมกรอนที่ผู้ซื้อจับเลือกได้ และการโฆษณา ขนมกรอบทางโทรทัศน์จูงใจในซื้อขนมกรอบ (2) ปัจจัยส่วนบุคคลไม่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อ ขนมกรอบของกลุ่มวัยรุ่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถติที่ระดับ .05 (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ไม่ส่งผลต่อพฤติกรรมการชี้อขนมกรอบของกลุ่มวัยรุ่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.108en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectขนมth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- พิษณุโลกth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อขนมกรอบของกลุ่มวัยรุ่นในจังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeBehavior of teenagers in Phitsanulok towards buying snack food productsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were (1) to study demographic factors of teenagers in Phitsanulok; (2) to study the behavior of teenagers in Phitsanulok towards buying snack food products; (3) to study marketing mix affecting the behavior of teenagers in Phitsanulok towards buying snack food products. This was a survey research. The sample was selected using sampling technique to draw 400 teenagers in 9 districts of Phitsanulok. Data were collected via 37 questionnaires with choices. Statistical data were analyzed by using percentage and Chi-Square The research findings showed that the major group of respondents was female teenagers, who accounted of ail respondents, and the other group was male teenagers, who accounted Most of the teenagers, were between 12-14 years old. The major results of this study were (1) Most of the teenagers bought snack food products at shops close to their houses, consumed snack food products every 2-3 days, consumed snack food products due to favorite flavors, consumed snack food products after lunch, preferred to consume potato crisps, paid attention to expiry dates of the products, agreed that snack prices were reasonable, expressed the opinion that distributors should put the snack food products at convenient places for consumers, and agreed that product advertising on television appealed to consumers; (2) Demographic factors did not affect the behavior of teenagers in Phitsanulok towards buying snack food products at 0.5 level of significance, (3) The marketing mix did not affect the behavior of teenagers in Phitsanulok towards buying snack food products at 0.5 level of significanceen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
97321.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons