Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8072
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถํ้าth_TH
dc.contributor.authorวันทญานนท์ หอมสูงเนิน, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-21T07:43:49Z-
dc.date.available2023-07-21T07:43:49Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8072en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาในปัจจุบัน แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับมาตรการในการจัดการสื่อลามกอนาจารเด็กที่มีอายุไม่เกิน 18 ปี เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารเด็กที่มีอายุไม่เกิน 18 ปี ของประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อหามาตรการที่อาจนำมาปรับใช้ได้กับประเทศไทย เพื่อศึกษาและวิเคราะห์มาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสมกับประเทศไทยเกี่ยวกับมาตรการในการจัดการสื่อลามกอนาจารเด็ก เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการสื่อลามกอนาจารเด็ก การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยทางเอกสารโดยการศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ตำรา บทความ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นหลักและใช้วิธีการศึกษาเชิงวิเคราะห์ทางนิติศาสตร์โดยการศึกษาจากเอกสาร ตำราทางวิชาการ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ประมวลกฎหมาย พระราชบัญญัติ และระเบียบที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายสื่อลามกอนาจารเด็ก จากผลการศึกษาพบว่า ตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาฉบับที่ 24 พ.ศ. 2558 ที่ใช้บังคับในปัจจุบันสอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ซึ่งความแตกต่าง ของกฎหมายฉบับดังกล่าวนั้นไม่แตกต่างกันมีเพียงแต่การใช้คำในกฎหมายเพื่อให้สอดคล้อง กับสภาพสังคม แต่ในสภาพสังคมในประเทศไทยในปัจจุบันถึงแม้จะมีการแก้ไขเพิ่มเติมในหลักกฎหมาย แต่ยังมีปัญหาทวีความรุนแรงขึ้นทุกๆวัน เพื่อให้เกิดความชัดเจนขึ้นในเรื่องของการ นำกฎหมายไปบังคับใช้และนำไปใช้ควรให้มีการบัญญัติเพิ่มเติมในเรื่องของการจัดทำบัญชีของบทนิยามคำว่า สื่อลามกอนาจารเด็กไว้เฉพาะเรื่อง และในส่วนการครอบครองเพื่อแสวงหาประโยชน์สำหรับตนเองและผู้อื่น ควรให้มีการบัญญัติบทนิยามเพิ่มเติมเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจและการบังคับใช้กฎหมาย รวมถึงมาตรการทางสังคมในด้านต่างๆ ทั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ไขปัญหา ด้านสื่อลามกอนาจารเด็กที่มีอายุไม่เกิน 18 ปีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสื่อลามกอนาจาร--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleมาตรการในการจัดการสื่อลามกอนาจารเด็กที่มีอายุไม่เกิน 18 ปีth_TH
dc.title.alternativePornography management measures in children under 18 year-olden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study, “Pornography Management Measures in Children Under 18 Year-Old,” aims to study current conditions, concepts, and theories related to pornography management measures in children under 18 year-old in order to study legal measures related to pornography in children under 18 year-old in Thailand and other countries to search for methodology which will be able to apply with Thailand, and to study and analyze proficient legal measures which will be suitable with Thailand to deal with child pornography. Furthermore, qualitative research will be used in this independent study by documentary research especially data collection principally comes from documents, handbooks, articles and other related researches together with legal analytical studies by using academic textbooks, articles, researches, theses, code of laws, acts and other related regulations related to child pornography laws. The study found that according to Penal Code Amendment Act (No. 24) 2015, which is currently enforced complies with Convention on the Rights of the Child, for instance there is definition of possession, propagation and transmission in the Penal Code Amendment Act (No. 24) 2015 which is interpreted homogenously as defined as in the Convention on the Rights of the Child. Moreover, the study revealed that there is similarity between both laws only wording usage is quite different which is relied on state of society, even though currently there is an amendment in laws in Thailand but the violence drastically increases. Therefore, in order to enhance the understanding in legal enforcement, there should be additional enactment related to definition of child pornography as well as its possession to seek benefits from one and others. Thus, it is very significant for a clear and understandable definition and enforcement together with social measures to emphasize in finding solution of problems of pornography management measures in children under 18 year-old.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons