Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8079
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสำเรียง เมฆเกรียงไกรth_TH
dc.contributor.authorวีร์ธิชา ตั้งรัตนาวลี, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-21T08:08:44Z-
dc.date.available2023-07-21T08:08:44Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8079en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา แนวความคิด ทฤษฎี หลักการและวรรณกรรมที่เกี่ยวกับความผิดอันยอมความได้ และความผิดต่อแผ่นดินที่เกี่ยวข้อง กับความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา โดยศึกษาจากกฎหมายของประเทศไทย กฎหมายของประเทศ สหราชอาณาจักร และกฎหมายของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เพื่อวิเคราะห์ถึงประเด็นปัญหา และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาความผิดอันยอมความได้มาตรา 276 วรรคแรก ที่ไม่มีเหตุตามมาตรา 281 แห่งประมวลกฎหมายอาญา การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยการศึกษาค้นคว้าจากตำรากฎหมาย ตัวบทกฎหมาย บทความ คำพิพากษา วิทยานิพนธ์ สาระนิพนธ์ และงานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาวิจัย และนำมาวิเคราะห์ เพื่อนำไปสู่ข้อสรุปและข้อเสนอแนะของการวิจัยต่อไป ผลการศึกษาพบว่า การที่ประมวลกฎหมายอาญาได้บัญญัติให้มาตรา 276 วรรคแรก ที่ไม่มีเหตุตามมาตรา 281 เป็นความผิดอันยอมความได้ ทำให้เกิดปัญหาในด้านวิธีพิจารณาความอาญาที่มีข้อจำกัดในเรื่องการร้องทุกข์ ทำให้ผู้เสียหายอาจเสียสิทธิในการดำเนินคดี อีกทั้งการ ที่ผู้เสียหายสามารถตัดสินใจเริ่มต้นและยุติคดีได้เอง เป็นช่องโหว่ที่ทำให้ผู้กระทำผิดหลุดพ้น จากกระบวนการยุติธรรม และเมื่อพิจารณาตามหลักเกณฑ์ที่ใช้แบ่งประเภทแล้ว ความผิด ดังกล่าว มีลักษณะที่สามารถจัดให้เป็นความผิดต่อแผ่นดินได้ จึงสมควรแก้ไขความผิดมาตรา 276 วรรคแรก ที่ไม่มีเหตุตามมาตรา 281 ให้เป็นความผิดต่อแผ่นดิน เพื่อให้เกิดความคุ้มครองทั้งต่อตัวผู้เสียหายและสังคมโดยรวมต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผิดอันยอมความได้th_TH
dc.subjectกฎหมายอาญาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleปัญหาความผิดอันยอมความได้ตามมาตรา 276 วรรคแรก ที่ไม่มีเหตุตามมาตรา 281 แห่งประมวลกฎหมายอาญาth_TH
dc.title.alternativeProblems of the compounding offence under section 276, first paragraph, without cause under section 281 of the criminal codeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this independent study is to study the background, concepts, theories, principles and literature relating to compounding offences and non-compounding offences concerning rape offence. The study includes studying Thai law, United Kingdom law and German law to analyze issues and propose solutions to the problems of the compounding offence under Section 276, first paragraph, without cause under Section 281 of the Criminal Code. This research is a qualitative research based on documentary research. To research by studying legal texts, articles, judgments, dissertations, theses and related research to use as research data to analyze, conclude and propose suggestions. The study found that section 276, the first paragraph, without cause under Section 281 of the Criminal Code is classified as a compounding offence. This causes problems with the criminal procedure with limited restrictions on complaint which makes the victims may lose the right to litigation. Moreover, the victims can decide to start and end the case themselves which is a vulnerability that makes the offenders get out of the judicial process. When considering the classification criteria, such offence has the characteristics that can be classified as a non- compounding offence. Therefore, section 27, the first paragraph, without cause under section 281 should be amended to be a non-compounding offence to provide protection for both the victims and the society as a whole.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons