Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8082
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอัจฉรา โพธิ์ดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวารุณี วนะรมย์, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-21T08:14:38Z-
dc.date.available2023-07-21T08:14:38Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8082-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคน้ำผลไม้ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาความสำคัญของส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคน้ำผลไม้ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการบริโภคน้ำผลไม้ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีเลือกตัวอย่างแบบโควต้าจากประชากรที่บริโภคน้ำผลไม้ในย่านธุรกิจ การค้าที่สำคัญของกรุงเทพมหานคร ได้จำนวนตัวอย่าง 400 คน โดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็น เครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ ค่าสถิติไคสแควร์ โดยใช้โประแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัย พบว่า (1) พฤติกรรมการบริโภคน้ำผลไม้ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร คือ ผู้บริโภคซื้อและดื่มน้ำส้ม ประเภทน้ำผลไม้เข้มข้นที่นิยมบริโภค โดยมีวัตถุประสงค์ในการเลือกบริโภคเพื่อบำรุง สุขภาพ โดยเลือกซื้อและบริโภคน้ำผลไม้ที่มีตรายี่ห้อ และ ไม่มีตรายี่ห้อ ตราสินค้าที่นิยมดื่มคือยูนิฟ ผู้บริโภคซื้อ น้ำผลไม้เพื่อตนเอง หลักเกณฑ์ในการเลือกซื้อพิจารณาจากคุณค่าทางโภชนาการ ความถี่ในการบริโภคอยู่ในช่วง 4-6 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยซื้อที่ร้านศาลาโครงการหลวง และสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์มีผลต่อการซื้อน้ำผลไม้ ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงอายุ 31 -40 ปี สถานภาพสมรส อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน ระดับการศึกษา ปริญญาตรี มีรายได้น้อยกว่าหรือเท่ากับ 20,000 บาทต่อเดือน (2) ส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการ บริโภคน้ำผลไม้ผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร ในระดับมาก คือ ด้านผลิตภัณฑ์ โดยคำนึงถึงคุณค่าทาง โภชนาการ ด้านราคาโดยคำนึงถึงราคามีความเหมาะสมกับคุณภาพ ด้านการจัดจำหน่ายโดยคำนึงถึงการหาซื้อได้ ง่ายทั่วไป และด้านส่งเสริมการตลาดโดยคำนึงถึงการส่งเสริมการขายในการเพิ่มปริมาณบรรจุราคาเท่าเดิม (3) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ สถานภาพการสมรส อาชีพ ระดับการศึกษา และรายได้มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการบริโภคน้ำผลไม้ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ด้านประเภทน้ำผลไม้ วัตถุประสงค์ที่ บริโภค การเลือกซื้อน้ำผลไม้เพื่อใคร และความถี่ในการซื้อเพื่อบริโภคth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.110en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectน้ำผลไม้th_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- กรุงเทพฯth_TH
dc.titleพฤติกรรมการบริโภคน้ำผลไม้ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeConsumer behavior for fruit juice in Bangkokth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were; (1) to study consumer behavior for fruit juice in Bangkok Metropolitan Area (2) to study the importance of marketing mix affecting consumer behavior for fruit juice (3) to study the correlation between personal factors and consumer behavior for fruit juice The sample was chosen by quota of population drinking fruit juice in main business. Questionnaires designed by researcher were used as research instrument for 400 samples. Statistical methods used to analyze data were frequency distribution, average, standard deviation and chi-square. Research results were (1) Fruit juice consumer behavior in Bangkok Metropolitan Area: Consumers mostly bought and drank orange juice as their most favorite concentrated fruit juice. Objective: Consumers drank fruit juice for healthy reason. They bought both with and without brand name for fruit juice. The most favorite brand name was Unif. They bought fruit juice for themselves. The buying criterion was its nutritional facts. The consumption frequency was 4-6 times a week. They bought fruit juice from Royal project Shops. TV’ Advertisement affected fruit juice consumer behavior. The most respondents were ladies of 31-40 years old. They were married and worked in private companies. They were bachelor degree graduated people with an average income of 20,000 baht or less per month. (2) The most marketing mix affecting consumer behavior for fruit juice in Bangkok Metropolitan Area ะ Nutritional facts was for Product, price compared to quality was for Price, simplicity to buy anywhere was for Place, and sale promotion to increase volume at same price was for Promotion. (3) Gender, age. marital status, occupation, education, and income had influential relation with fruit juice consumer behavior in Bangkok for; type of fruit juice, buying objectives, to which the fruit juice was for, and consumption frequencyen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
97323.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons