Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8085
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุเทน มิ่งก่อ, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-21T08:33:36Z-
dc.date.available2023-07-21T08:33:36Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8085-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีในการกำหนดความผิดและโทษทางอาญาตลอดจนแนวคิดและวัตถุประสงค์ในบทบัญญัติความผิดตามกฎหมาย ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาผลกระทบข้อจำกัดของมาตรการในการลงโทษความผิดฐานขับขี่ในระหว่างเมาสุราตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก ศึกษาวิเคราะห์ถึงการนำมาตรการกักขังเป็นช่วงระยะเวลามาบังคับใช้เป็นมาตรการแรกในกรณีความผิดขับขี่ขณะเมาสุรา เสนอแนะเบื้องต้นถึงการนำเอารูปแบบการกักขังเป็นช่วงระยะเวลามาใช้บังคับเป็นมาตรการแรกในกรณีความผิดขับขี่ขณะเมาสุราในประเทศไทยต่อไป การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยได้ทำการศึกษามาตรการลงโทษกรณีความผิดขับรถขณะเมาสุราตามพระราชบัญญัติจราจรทางบกรวมถึงรูปแบบและหลักเกณฑ์ของการนำมาตรการกักขังเป็นช่วงระยะเวลามาบังคับใช้โดยได้ทำการศึกษาจากพระราชบัญญัติจราจรทางบก ปีพุทธศักราช 2522 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ประมวลกฎหมายอาญา ตลอดจนงานศึกษาวิจัยต่างที่เกี่ยวข้องกับการบังคับโทษทางอาญารวมถึงแนวคิดทฤษฎีและวัตถุประสงค์ของการลงโทษ โดยสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ ผลการศึกษาพบว่า ควรมีการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติจราจรทางบกโดยนำจำนวนครั้งและปริมาณแอลกอฮอล์มาเป็นเงื่อนไขสำคัญในการกำหนดโทษและนำมาตรการกักขังเป็นช่วงระยะเวลาซึ่งเป็นมาตรการลงโทษระดับกลางมาบัญญัติเพิ่มเติมในพระราชบัญญัติจราจรทางบกนอกจากนี้ ควรจะมีการเพิ่มมาตรการฟื้นฟูบำบัดรักษาผู้กระทำความผิดที่เป็นผู้ติดสุราเรื้อรัง หรือดื่มสุราเป็นอาจิณและ ควรกำหนดให้มีการสืบเสาะและจัดทำฐานข้อมูลกลางในความผิดฐานขับรถขณะเมาสุราแยกจากฐานความผิดอื่นเพื่อให้พนักงานสอบสวนสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลได้ในระบบออนไลน์สืบเสาะหรือตรวจสอบการกระทำความผิดฐานขับรถขณะเมาสุราย้อนหลังของผู้กระทำความผิดประกอบสำนวนเพื่อให้ศาลใช้ประกอบการพิจารณาลงโทษผู้กระทำความผิดฐานขับรถขณะเมาสุราได้อย่างเหมาะสมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการขับรถขณะเมาสุรา--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการนำมาตรการกักขังเป็นช่วงระยะเวลามาบังคับให้เป็นมาตรการแรก กรณีความผิดขับรถขณะเมาสุราตามพระราชบัญญัติจราจรทางบกth_TH
dc.title.alternativeEnforcement of periodic detention measure as the first measure in case of drunken driving offence under Road Traffic Acten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is to study concepts and theories of offence and criminal penalty determination, and concepts and objectives of legal offence legislations, to study and analyze the problems, impacts and limitations of punishment measure for drunken driving offence under Road Traffic Act, to study and analyze the enforcement of periodic detention measure as the first measure in case of drunken driving offence, and to primarily suggest the enforcement of periodic detention form as the first measure in case of drunken driving offence in Thailand accordingly. This independent study is the qualitative research through study of punishment measure in case of drunken driving offence under Road Traffic Act including form and criteria for enforcement of periodic detention measure. Road Traffic Act B.E. 2522 (1979), Criminal Procedure Code, Criminal Code, as well as relevant researches of criminal penalty enforcement and concepts, theories and objectives of punishment were conducted. The following has been the summary of research result. The finding from the studying result indicated that Road Traffic Act should be revised by taking number of times and alcohol content as important condition of punishment determination and applying periodic detention measure as moderate level punishment measure to be additionally enacted in Road Traffic Act. Moreover, rehabilitation and treatment measure for the offender who is alcoholic or habitually drinks alcohol should be added. The investigation and separate preparation of central database for offence of drunken driving offence from other offences should be determined so that the inquiry official can access online system data, retroactively investigate or verify drunken driving offence of the offender to support the case record for the court’s use in accompany with the appropriate consideration on punishing the offender of drunken driving offenceen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons