Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/808
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุมาศ ขัดเงางาม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมหมาย จันทร์เรือง, 2491- อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตตินันท์ นิคงรัมย์, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T04:30:09Z-
dc.date.available2022-08-20T04:30:09Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/808-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาเนื้อหาของรัฐธรรมนูญและกฎหมายต่าง ๆ ด้านการคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้ต้องหาในการแถลงข่าวผลการจับกุม (2) เพื่อศึกษาอำนาจ หน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามกฎหมายในการแถลงข่าวผลการจับกุม (3) เพื่อเสนอแนวทางในการคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้ต้องหาในการแถลงข่าวผลการจับกุม การวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมายโดยการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิจัยทางเอกสาร โดยการศึกษาค้นคว้ารวบรวมแยกหมวดหมู่เอกสารและทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ เช่น ปฏิญญา กฎกติการะหว่างประเทศ อนุสัญญา กฎหมาย รายงาน บทความ หนังสือผลงานวิจัย ตลอดจนข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์คือคุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ที่ทำหน้าที่ปกป้อง และคุ้มครองมนุษย์ให้มีชีวิตดำรงอยู่อย่างสมเกียรติภูมิแห่งความเป็นมนุษย์ เมื่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์จึงมีผลผูกพันองค์กรรัฐ และเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยตรงที่จะต้องไม่กระทำการใดที่กระทบต่อคุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ หากองค์กรรัฐ และเจ้าหน้าที่ของรัฐใช้อำนาจรัฐไม่ว่าในทางใดๆ ไปกระทบต่อคุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ย่อมเป็นการ ละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การแถลงข่าวผลการจับกุมโดยการนำตัวผู้ต้องหามาปรากฏตัวต่อสื่อมวลชน และมีการเผยแพร่ภาพผู้ต้องหาไปยังสาธารณชนเป็นจำนวนมากเป็นรูปแบบการใช้อำนาจรัฐอยางหนึ่งซึ่งเป็นการกระทำที่ปฏิบัติต่อผู้ต้องหาเสมือนเป็นวัตถุชิ้นหนึ่ง ทั้งยังเป็นการทำลายภาพลักษณ์ ของความเป็นมนุษย์ของผู้ต้องหา เป็นการกระทำที่ลดคุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ของผู้ต้องหาลง จึงเป็นใช้อำนาจรัฐที่ละเมิดต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้ อันเป็นการกระทำที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ดังนั้น สำนักงานตำรวจแห่งชาติควรยกเลิกการแถลงข่าวผลการจับกุมโดยการนำตัวผู้ต้องหามาปรากฏตัวต่อสื่อมวลชน และในการแถลงข่าวแม้ไม่มีการนำตัวผู้ต้องหามาปรากฏตัวต่อสื่อมวลชน เจ้าพนักงานตำรวจกยังต้องคำนึงถึงสิทธิและเสรีภาพของผู้ต้องหาตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสิทธิผู้ต้องหาth_TH
dc.subjectสิทธิมนุษยชนในสื่อมวลชนth_TH
dc.titleศักดิ์ครีความเป็นมนุษย์กับการแถลงข่าวผลการจับกุมโดยเจ้าพนักงานตำรวจth_TH
dc.title.alternativeHuman dignity and press release on the arrest by police officersth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe proposals of this independence study are: (1) to study the contents of the Constitution and laws for the protecting human dignity of the suspected person in the press release; (2) to study the legal authorities of police officers in press of arrested persons. (3) to provide guidelines for the protection of human dignity in the conference resulted of arrest the suspected person. This dissertation is a qualitative research conducted based on documentary research. These are included in collecting, classifying documents and analyzing information from documents such as the UN Declarations, rules of the International Convention, laws, articles, reports, books, researches, and the information on Internet, in both Thailand and English. The research found that the values of human dignity were values of being human, acting to protect and defend human life and presence with dignity of the human. The Constitution of the Kingdom of Thailand imposed to all government agencies and officials directly and required not to act on the contrary to the values of the human. If the government agencies and government officials used the state power whether in any way to affect the value of a human being, it would be considered as a violation of human dignity. The press release of the arrest by bringing suspected persons to present to the media and publishing their photos to the public was one of the forms of using State power, which treated them as an object, as well as destruction of the suspect’s image as human being and devaluing the value of being human. This was an abusive of using State power violating the human dignity as recognized in the Constitution, and thus, the actions were contrary to the Constitution. Therefore, the Royal Thai Police should cancel the press release of the arrest by bringing suspect persons to present to the public. Even the suspect is not being introduced to the media in the press release, the police officers must consider to the right and freedoms as recognizes in the Constitutionen_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib145920.pdfเอกสารฉบับเต็ม31.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons