Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8093
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสาวภา มีถาวรกุล | th_TH |
dc.contributor.author | ทนงศักดิ์ ทรัพย์มั่งคั่ง, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-22T07:35:12Z | - |
dc.date.available | 2023-07-22T07:35:12Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8093 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม (2) ระดับการคาดหวังที่มีต่อคุณภาพการบริการห้างบิ๊กซีจัมโบ้ของผู้บริโภคจังหวัดสมุทรปราการ (3) ระดับการรับรู้ที่มีต่อคุณภาพการบริการห้างบิ๊กซีจัมโบ้ของผู้บริโภคจังหวัดสมุทรปราการ การศึกษาครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ โดยกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยในจังหวัดสมุทรปราการที่มาทำการซื้อสินค้าหรือมาใช้บริการในห้างบิ๊กซีจัมโบ้จังหวัดสมุทรปราการ ตั้งแต่ วันที่ 1–20 กรกฎาคม 2558 ไม่ทราบจำนวนประชากรและคำนวณได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง ด้วยวิธีการเปิดตารางทาโร่ยามาเน่ ได้จำนวน 400 ราย ทำการเก็บแบบสอบถามด้วยวิธีการสุ่ม ตัวอย่างแบบบังเอิญ โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สำหรับการ วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีสถานภาพสมรส โสด มีอายุอยู่มากกว่า 40 ปี มีระดับการศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาตรี มีอาชีพค้าขาย/อาชีพอิสระ และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนละ10,000-15,000 บาท (2) ระดับการคาดหวังที่มีต่อคุณภาพการบริการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่ามีระดับการคาดหวังอยู่ในระดับมาก ด้านการเอาใจใส่ลูกค้ากับด้านความเป็นรูปธรรมของบริการยกเว้น ด้านการให้ความมั่นใจแก่ลูกค้า ด้านความน่าเชื่อถือ และด้านการตอบสนองอยู่ในระดับปานกลาง (3) ระดับการรับรู้ที่มีต่อคุณภาพการบริการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่ามีระดับการรับรู้อยู่ในระดับปานกลาง ด้านการเอาใจใส่ลูกค้า ด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ และด้านการให้ความมั่นใจแก่ลูกค้ายกเว้น ด้านความน่าเชื่อถือกับด้านการตอบสนองอยู่ในระดับน้อย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ห้างสรรพสินค้า--บริการลูกค้า | th_TH |
dc.subject | ความสัมพันธ์กับลูกค้า | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การตลาด | th_TH |
dc.title | การคาดหวังและการรับรู้ที่มีต่อคุณภาพการบริการห้างบิ๊กซีจัมโบ้ของผู้บริโภค จังหวัดสมุทรปราการ | th_TH |
dc.title.alternative | Consumer expectation and perception towards service quality of Big C Jumbo Department Store in Samut Prakan Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This purpose of this study were to study; (1) the personal factors of respondents (2) the expectation level of customers toward the service quality of Big C Jumbo Department Store in Samut Prakan Province (3) the perception level of service quality of Big C Jumbo Department Store in Samut Prakan Province. This study was a survey research. The sample group was a people who lived in Samut Prakan Province and purchased the product from Big C Jumbo Department Store in Samut Prakan Province during July 1 -20, 2015. The sample size is selected by Taro Yamane method for 400 people. The questionnaire conducted by accidental sampling. Questionnaire was used as a tool to collect data. The statistics used to analyze data on descriptive statistics by using percentages, means and standard deviation (S.D). The study results found that; (1) the majority of respondents were female, marriage and single status, aged over 40 years old, education level at under bachelor degree, occupation as merchandizer and freelance with monthly income between 10,000- 15,000 Baht (2) the overall of an expectation level toward the service quality was at the middle level, considering each aspects found that the customer care aspect and the materiality of service aspect were at high level, nevertheless, the ensuring customers aspect, reliability aspect and the responsibility aspect were at middle level (3) the overall of the perception level of the service quality was at middle level when considering in each parts as the perception level of the customer care aspect, the materiality of service and the ensuring customers aspect was at middle level thus reliability aspect and the responsibility aspect was at low level. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_147758.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License