Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/810
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวภา ติอัชสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorธวัชชัย มากมน, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T04:38:44Z-
dc.date.available2022-08-20T04:38:44Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/810-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความรู้ เจตคติ และทักษะด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนาสุขภาพประชาชน และ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคล ลักษณะการทำงานกับความรู้ เจตคติ และทักษะด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนาสุขภาพประชาชนของหัวหน้าสถานีอนามัย ประชากรในการวิจัย คือ หัวหน้าสถานีอนามัยที่ปฏิบัติงานในสถานีอนามัย จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 225 คน ทำการศึกษาทุกหน่วยของประชากร เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สำหรับส่วนที่ให้หัวหน้าสถานีอนามัยทำการประเมินตนเองในความรู้ เจตคติ และทักษะด้านการบริหารเชิงกลุยุทธ์ มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.957 การเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการโดยการประสานงานกับสาธารณสุขอำเภอ การประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูลทำโดย แสดงการพรรณนาข้อมูลด้วยร้อยละ ค่ากลาง และค่าการกระจายของข้อมูล แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาด้วยค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์เพียร์สัน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) หัวหน้าสถานีอนามัยประเมินตนเองว่ามีความรู้และทักษะด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง มีเจตคติด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูงยกเว้นประเด็นการวางแผนกลยุทธ์ต้องใช้เวลามากและทำให้รู้สึกเบื่อหน่าย และมีขั้นตอนมากจึงควรเป็นบทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร และ (2) ตัวแปร เพศ อายุ และรายได้ต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับทักษะด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์ การศึกษาต่อเนื่องมีความสัมพันธ์กับทักษะด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์ประเภทตำแหน่งมีความสัมพันธ์กับความรู้และเจตคติด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าสถานีอนามัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยคือ สนับสนุนการศึกษาต่อเนื่อง และพัฒนาความรู้และทักษะในการวิเคราะห์องค์กรแค่หัวหน้าสถานีอนามัยโดยใช้เครื่องมือที่มีประสิทธิผลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสุขภาพ--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectหัวหน้าสถานีอนามัย--ไทย--บุรีรัมย์th_TH
dc.subjectหัวหน้าสถานีอนามัย--การบริหารth_TH
dc.titleสมรรถนะด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนาสุขภาพประชาชนของหัวหน้าสถานีอนามัยในจังหวัดบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeCompetency of strategic management for population health development among health center chiefs in Buri Rum provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were to study: (1) levels of strategic management knowledge, attitude, and skills for population health development; and (2) relationships between personal characteristics and work manner, with strategic management knowledge, attitude, and skills of health center chiefs for population health development in Buri Rum province. The population in the study was 225 health center chiefs, working at health centers in Buri Rum province. A research tool was a self-assessment rating scale questionnaire of strategic management knowledge, attitude, and skills for the health center chiefs. A reliability of the questionnaire was verified, with its coefficient of 0.957. Data collection was performed through a co-ordination with district health offices. The data were analyzed as percentage, mean, and data dispersion. Pearson’s correlation coefficients and Chi-square test were used to test relationships among variables. The findings of this research were that: (1) the result of self-assessment regarding overall strategic management knowledge and skills among the health center chiefs was at the moderate level. Overall strategic management attitude was at the high level, except for the strategic planning issue that the chiefs reported boredom due to time consumption and its complexity; and (2) variables of sex, age, monthly income and continuing education related to strategic management skills, while position related to strategic management knowledge and attitude of the health center chiefs, with statistical significances at the confidence levels of 95 %. Suggestions from the research results were that continuing education and development of knowledge and organization analysis skills should be promoted to the health center chiefs through effective toolsen_US
dc.contributor.coadvisorวรางคณา ผลประเสริฐth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122100.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons