Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8115
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมคิด พรมจุ้ย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุคนธรส เทียนวรรณ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-24T03:26:16Z-
dc.date.available2023-07-24T03:26:16Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8115-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 3 จังหวัดชลบุรี เกี่ยวกับความพร้อมด้านปัจจัยเบื้องต้นของการใช้หลักสูตร ความเหมาะสมของกระบวนการใช้หลักสูตร และประสิทธิผลของหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ครูผู้สอนหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จำนวน 7 คน และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในปีการศึกษา 2554 จำนวน 176 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบ แบ่งชั้น เครื่องมือที่ใชัในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบบันทึกข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ความพร้อมด้านปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตร ได้แก่ งบประมาณ เอกสารประกอบหลักสูตร สื่อการสอน อาคารสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ และสี่งอำนวยความสะดวก ในภาพรวมตามความคิดเห็นของครูผู้สอน มีความพร้อมระดับปานกลางไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน สำหรับด้านบุคลากร มีความพร้อมระดับมากผ่านเกณฑ์การประเมิน ส่วนนักเรียนมีความคิดเห็นว่าความพร้อมปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตร ได้แก่ บุคลากร เอกสารประกอบหลักสูตร สื่อการสอน อาคารสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ และสี่งอำนวยความสะดวก มีความพร้อมระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกด้าน (2) ความเหมาะสมของกระบวนการใช้หลักสูตร ได้แก่ การบริหารจัดการหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และ การวัดและประเมินผล ในภาพรวมตามความคิดเห็นของครูผู้สอนและนักเรียน มีความเหมาะสม ระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกด้าน และ (3) ประสิทธิผลของหลักสูตรนักเรียนส่วนใหญ่นำความรู้ เนื้อหาการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ เรื่องอัตราส่วนและร้อยละมาใช้มากที่สุด รองลงมาคือ เรื่องความน่าจะเป็น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ส่วนผลการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ผ่านเกณฑ์การประเมินth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการประเมินหลักสูตรth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การวัดและประเมินผลการศึกษาth_TH
dc.titleการประเมินการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 3 จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeAn eveluation of curriculum implementation in the mathematics learning area at the lower secondary level of Tessaban Laem Chabang 3 School in Chon Buri Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to evaluate curriculum implementation in the Mathematics Learning Area at the lower secondary level of Tessaban Laem Chabang 3 School in Chon Buri Province concerning the readiness of the input for curriculum implementation, the appropriateness of the curriculum implementation process, and the curriculum effectiveness. The research sample consisted of seven mathematics teachers and 176 lower secondary students in the 2011 academic year, obtained by stratified random sampling. The employed research instruments were a questionnaire and a data recording form. Research data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. Research findings revealed that (1) regarding the readiness of the input for curriculum implementation comprising the budget, curriculum documents, instructional media, buildings, materials and equipment, and facilities, it was found that the teachers had opinions that the readiness was at the moderate level and did not pass the evaluation criteria, while the students had opinions that the readiness of the input for curriculum implementation comprising the personnel, curriculum documents, instructional media, buildings, materials and equipment, and facilities was at the high level and passed the evaluation criteria for all aspects; (2) regarding the appropriateness of the curriculum implementation process comprising curriculum management, instructional management, and measurement and evaluation, it was found that both the teachers and students had opinions that the overall readiness was at the high level and passed the evaluation criteria for all aspects; and (3) regarding curriculum effectiveness, it was found that the majority of students applied knowledge from the topic of Ratios and Percentage most frequently, followed by the application of knowledge from the topic of Probability; learning achievement of lower secondary students did not pass the evaluation criteria, while achievements on reading, analytical thinking, writing, and student’s desirable characteristics passed the evaluation criteria.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_132493.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons