Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8123
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณth_TH
dc.contributor.authorภาสกร เหมกรณ์, 2505-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-24T06:41:22Z-
dc.date.available2023-07-24T06:41:22Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8123en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อขีดความสามารถ ปัญหา แนวทางการพัฒนา รวมทั้งเปรียบเทียบภาพรวมขีดความสามารถในการบริหารจัดการของสำนกงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยนำ PAMS-POSDCoRB ซึ่งประกอบด้วย 11 ด้าน ได้แก่ การบริหารนโยบาย (Policy) การบริหารอำนาจหน้าที่ (Authority)การบริหารคุณธรรม (Morality) การบริหารที่เกี่ยวกับสังคม (Society) การวางแผน (Planning)การจัดองค์การ (Organizing) การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Staffing) การอำนวยการ (Directing) การประสานงาน (Coordinating) การรายงาน (Reporting) และการงบประมาณ (Budgeting) มาเป็นกรอบแนวคิดในการรักษาการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งผ่านการทดสอบ (pretest) รวมทั้งผ่านการทดสอบหาความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูลสนามดำเนินการรระหว่างวันที่ 1 กันยายน 2549 ถึง วันที่ 31 ตุลาคม 2549 ได้กลุ่มตัวอย่าง 1,052 คน คิดเป็นร้อยละ 88.33 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด (1,191 คน) สำหรับสถิติที่ใช้ คือร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาปรากฏว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับปานกลาง ว่า สำนักงานเขตราชเทวีมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการและเห็นด้วยในระดับมาก ว่า ขีดความสามารถในการบริหารจัดการของสำนักงานเขตราชเทวีมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการในปัจจุบันสูงกว่าในอดีต และสูงกว่าสำนักงานเขตอื่นสำหรับข้อเสนอแนะ เช่น สำนักงานเขตราชเทวีควรจัดการฝึกอบรมแก่ผูบริหารเรื่องการมอบอำนาจเพิ่มมากขึ้นให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา และลดสายการบังคับบัญชา นอกจากนี้ควรนำกรอบแนวคิด PAMS-POSDCoRB ไปปรับใช้ในการศึกษาวิจัยในอนาคต ซึ่งรวมทั้งในการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.359en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรุงเทพมหานคร. สำนักงานเขตราชเทวี--การบริหารth_TH
dc.titleการพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการของสำนักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of management administration capabilities of the Office of Ratchathewi District, Bangkok Metropolitan Administrationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.359-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.359en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study the opinions of the samples on capabilities, problems, procedures to development, and to compare the overall management administration capabilities of the Office of Ratchathewi District (ORD), Bangkok Metropolitan Authority. The conceptual framework of PAMS-POSDCoRB, consisted of 11 factors: Policy, Authority, Morality, Society, Planning, Organizing, Staffing, Directing, Coordinating, Reporting, and Budgeting was applied to this study. This study was survey research by using questionnaires. The questionnaires passed pretest, including validity and reliability tests. The field data was collected during September 1 Octobcr 31, 2006 at the sample amount of 1,052, making 88.33% of total samples (1,191).Descriptive statistics used were percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test.The study results showed: the samples agreed at the medium level that the management administration capabilities of ORD were high. The samples agreed at the high level that the management administration capabilities of ORD at present were higher than the past time, and higher than other districts. For suggestions, such as, ORD should establish executive trainning with respect on delegation of more power to the lower subordinators and should reduce the chain of command. In addition, the conceptual framework of PAMS-POSDCoRB should be applied in the future research which including the comparative research as well.en_US
dc.contributor.coadvisorศิรินทร์ ธูปกล่ำth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98015.pdfเอกสารแบับเต็ม8.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons