Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8128
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณ์ดี แสงประทีปทอง | th_TH |
dc.contributor.author | มยุรี ฟักฟูม, 2506- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-24T07:53:39Z | - |
dc.date.available | 2023-07-24T07:53:39Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8128 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินความพร้อมของปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตร สถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนเทศบาลบ้านศรีมงคล จังหวัดเพชรบูรณ์ (2) ประเมินความเหมาะสมของกระบวนการใช้หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนเทศบาลบ้านศรีมงคล จังหวัดเพชรบูรณ์ และ (3) ประเมินผลผลิตของหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนเทศบาลบ้านศรีมงคล จังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหาร และครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนเทศบาลบ้านศรีมงคล ในปีการศึกษา 2555 จำนวน 4 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ของโรงเรียนเทศบาลบ้านศรีมงคลในปีการศึกษา 2555 จำนวน 200 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามและแบบบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า (1) ด้านปัจจัยเบื้องต้นในภาพรวม มีความพร้อมอยู่ในระดับมากทุก ด้านผ่านเกณฑ์ การประเมิน ได้แก่ ด้านความรู้ความสามารถของครูผู้สอนสื่อ และแหล่งเรียนรู้ และงบประมาณ (2) ด้านของกระบวนการในภาพรวม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ทุกด้านผ่านเกณฑ์การประเมิน ได้แก่ ด้านการบริหารหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดแเละประเมิน และ (3) ด้านผลผลิตของหลักสูตร ได้แก่ ผลสัมฤทธิทางการเรียน ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินส่วนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนและทักษะกระบวน การทางวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์การประเมิน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงเรียนเทศบาลบ้านศรีมงคล--หลักสูตร--การประเมิน | th_TH |
dc.subject | การประเมินหลักสูตร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การวัดและประเมินผลการศึกษา | th_TH |
dc.title | การประเมินหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนเทศบาลบ้านศรีมงคล จังหวัดเพชรบูรณ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of school-based curriculum in the science learning area of the low second level of Tedsaban Ban Srimonkol School in Phetchabun Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to evaluate the readiness of input factors of school-based curriculum in the Science Learning Area at the lower secondary level of Tessaban Ban Srimongkol School in Phetchabun province; (2) to evaluate the appropriateness of the process factors of school-based curriculum in the Science Learning Area at the lower secondary level of Tessaban Ban Srimongkol School in Phetchabun province; and (3) to evaluate the output factors of school-based curriculum in the Science Learning Area at the lower secondary level of Tessaban Ban Srimongkol School in Phetchabun province. The sample consisted of four purposively selected administrator and science teachers of Tessaban Ban Srimongkol School in the 2012 academic year and 200 Mathayom Suksa I-III students of the school, obtained by stratified random sampling. The employed research instruments were two questionnaires and a data recording form. The data was analyzed using the percentage, mean, standard deviation and content analysis. Research findings were as follows: (1) the overall readiness of input factors, namely, knowledge and ability of teachers, learning media and learning sources, and the budget, was at the high level and passed the evaluation criteria; (2) the overall appropriateness of the process factors, namely, curriculum management, organizing instructional activities, and measurement and evaluation, was at the high level and passed the evaluation criteria; and (3) the output factor of students’ learning achievement did not pass the evaluation criteria, while the output factors of students’ desirable characteristics and science process skills passed the evaluation criteria | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_139366.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License