Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/812
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรเดช ประดิษฐบาทุกา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorโกวิน วิวัฒนพงศ์พันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธิดารัตน์ จันทร์มณี, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T04:46:00Z-
dc.date.available2022-08-20T04:46:00Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/812-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิชัยเชิงสำรวจนี้มีวัตลุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้รับบริการ และ ผู้ให้บริการ (2) การจัดองค์การของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร (3) การให้บริการด้านการรักษาพยาบาลปฐมภูมิของศูนย์บริการสาธารณสุขฯ และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของผู้รับบริการ ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ให้บริการ และการจัดองค์การของศูนย์บริการสาธารณสุข กับ การให้บริการ ด้านการรักษาพยาบาลปฐมภูมิของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 2 ชุด สำหรับผู้รับบริการและผู้ให้บริการ ผู้รับบริการมีจำนวนตัวอย่าง 396 ราย และผู้ให้บริการมีจำนวนตัวอย่าง 120 ราย กลุ่มตัวอย่างเลือกโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์ ใช้การทดสอบไคสแควร์และการทดสอบสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้รับบริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 26-35 ปี สถานภาพสมรสแล้วมีรายได้ระหว่าง 8,001 - 10,000 บาทต่อเดือนจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาประกอบอาชีพพนักงานลูกจ้างบริษัทในรอบ 1 ปีที่ผ่านมาเคยเข้ารับบริการด้านสาธารณสุข ระยะทางที่มารับบริการ 1 -2 กิโลเมตร ส่วน ผู้ให้บริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 41 - 50 ปี สถานภาพสมรสแล้ว จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีประสบการณ์การทำงาน 11 - 20 ปี เคยเข้ารับการศึกษาอบรมด้านการบริการสาธารณสุข (2) การจัดองค์การของศูนย์บริการสาธารณสุข อยู่ในระดับดี (3) การให้บริการด้านการรักษาพยาบาลปฐมภูมิของศูนย์บริการสาธารณสุขตามมาตรฐานของบริการปฐมภูมิ อยู่ในระดับดี (4) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้รับบริการ ได้แก่อายุ สถานภาพสมรส รายได้ อาชีพ ประสบการณ์การมารับบริการ และระยะทางที่มารับบริการของผู้รับบริการ และปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ให้บริการ ได้แก่ สถานภาพสมรส และประสบการณ์การทำงาน มีความสัมพันธ์ กับการให้บริการด้านการรักษาพยาบาลปฐมภูมิของศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สำหรับการจัดองค์การของศูนย์บริการสาธารณสุข ได้แก่ การกำหนดบทบาท การกำหนดกิจกรรม การรวบรวมงานที่คล้ายคลึงเข้าด้วยกัน การกระจายอำนาจหน้าที่ และ การประสานงานกันระหว่างฝ่ายต่างๆ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการให้บริการของศูนย์บริการสาธารณสุขด้านการรักษาพยาบาลในระดับปฐมภูมิ ตามมาตรฐานของบริการปฐมภูมิ ทุก ๆ ด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ข้อเสนอแนะ คือ กำหนดภาระงานให้ชัดเจน จัดหาเครื่องมือและอุปกรณ์ที่มีความทันสมัย เพียงพอ และควรประชาสัมพันธ์บริการนอกเวลาราชการให้ประชาชนทราบโดยทั่วไปให้มากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์บริการสาธารณสุขสำนักอนามัย กรุงเทพมหานครth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาล--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleการให้บริการด้านการรักษาพยาบาลปฐมภูมิของศูนย์บริการสาธารณสุขสำนักอนามัย กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativePrimary health care service in public health center, health department, Bangkok Metropolitant Administrationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were to study: (1) the personal factors of service recipients and providers; (2) organizational arrangements of public health centers; (3) primary health care service provision at public health centers; and (4) the relationship between the personal factors of service recipients and providers as well as organizational arrangements and the primary health care service provision, all at public health centers under the Health Department, Bangkok Metropolitan Administration. The research tools included two sets of questionnaire: one for service recipients and the other for service providers. Data were collected using the questionnaire from a sample of 396 service recipients and 120 service providers, selected using the multistage sampling method. Statistical analyses were conducted to determine frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square test and Pearson product-moment correlation coefficient. The research findings were as follows: (I) Among (he service recipients, most of them were female, aged 26-35 years and married with a monthly income between 8,001 and 10,000 baht, graduated from high school, working as private company employees, having ever come for medical care during the past year, and traveled 1-2 kilometers to the center. For the service providers, most of them were female, aged 41-50 years and married with a bachelor’s degree educational background, 11-20 years of working experiences , and training experience in health care. (2) The organizational arrangements of the public health centers were at a good level. (3) The primary medical service provision was at a good level. (4) The personal factors significantly associated with the primary care service provision (p = 0.05) were age, marital status, income, occupation, experience in coming for medical service and travel distance for service recipients, and marital status and working experience for service providers. The organizational arrangements, including role assignments, activity designation, grouping of similar tasks, decentralization of powers, and coordination among sections, were positively and significantly associated with the service provision at the public health centers (p = 0.05). It is recommended that the tasks of similar nature should be grouped in the same section/cluster so that they will be tightly performed more easily; modem tools and equipment should be adequately acquired to meet the needs of service recipients; and the availability of services after regular office hours should be more publicizeden_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
114319.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons