Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/813
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ สัตย์ธรรมth_TH
dc.contributor.authorธีร์ปนกรณ์ ศุภกิจโยธินth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T05:01:03Z-
dc.date.available2022-08-20T05:01:03Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/813-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ สถานภาพสมรส สถานภาพทางสังคม ระยะเวลาการเป็นอาสมัครสาธารณสุข ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (2) ปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ สวัสดิการจากการเป็นอาสมัครสาธารณสุข การได้รับการฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน การสนับสนุนทางสังคมจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวช้อง (3) ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และ (4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลปัจจัยสนับสนุนความรู้และทัศนคติกับการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก กลุ่มตัวอย่าง คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อำเภอไพศาล จังหวัดนครสวรรค์ การกำหนดตัวอย่างโดยการใช้สูตรของยามาเน่ โดยใช้วิธีการจับสลากรายชื่ออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 3 คน จากหมู่บ้านทั้งหมด 101 จำนวน 303 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสหสัมพันธ์ แบบเพียรสัน และการทดสอบไค-สแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เป็นเพศหญิง ร้อยละ 72.3 อายุเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 31-40 ปี จบการศึกษาระดับตํ่ากว่าประถมศึกษาลงมา ร้อยละ 66.0 มีอาชีพเกษตรกรรมร้อยละ 82.2 มีรายได้เฉลี่ย 30,001 -60,000 บาท/ปี มีสถานภาพสมรสคู่ร้อยละ 84.2 ไม่มีสถานภาพทางสังคมร้อยละ 52.1 มีระยะเวลาการเป็นอาสมัครสาธารณสุขระหว่าง 1-5 ปี (2) การสนับสบุนด้านสวัสดิการได้รับบัตรทองรักษาฟรี ร้อยละ100 ได้รับการการศึกษาดูงาน/ฝึกอบรม ร้อยละ 77.9 มีแรงสนับสนุนทางสังคมฯ ในระดับสูง (3) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและการปฏิบัติอยู่ในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในระดับสูง แต่มีทัศนคติเรื่องโรคไข้เลือดออกอยู่ในระดับปานกลาง (4) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ได้แก่ เพศ (p-value < 0.05) รายได้ (p-value < 0.05 ) ระยะเวลาการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุข ( p-value < 0.05) อาชีพ (p-value < 0.01 ) และการสนับสนุนทางสังคมจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (p-value < 0.01)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.214-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --วิทยานิพนธ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านth_TH
dc.subjectไข้เลือดออก--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุข--ไทย--นครสวรรค์ (ไพศาลี)th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeFactors related to hemorrhagic fever disease control and prevention in the community by Village Health Volunteers in Phisalee District, Nakhon Sawan Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.214-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were to study: (1) personal factors as gender, education background, occupation, income, marital status, social status, and period of service as village health volunteers (VHVs); (2) supporting factors as benefits drawn from the service, acquired training/field studies, social supports from health personnel and other concerned agencies; (3) knowledge, attitude, and implementation of prevention and communicable disease control; and (4) relationships between such personal factors, supporting factors, knowledge, attitude, and implementation of prevention and communicable disease control in Pisalee District, Nakhonsawan Province. The research samples of 303 VHVs in Pisalee District, Nakhonsawan Province were selected by drawing 3 from VHVs of each village. Research Instruments used were questionnaires. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, Pearson’s correlation coefficient, and chi-square test. Research findings showed that: (1) the volunteers were mostly female (72.3%) with an average age in the range of 31-40 years old, with primary education background accounted for 66.0%, mostly farmers (82.2%) in occupation, with an average income of 30,001-60,000 baths per year, mostly married (84 2%), with about half of them having no formal social status (52.1%), had served as VHVs for 1-5 years; (2) all of them were supported with free health care access using gold card, and most of the volunteers (77.9%) acquired training or field studies; (3) they were knowledgeable and their implementation at a very good level but the attitude at a moderate level; (4) factors found to be related to the implementation of prevention and communicable disease control were gender (p-value < 0.05), income (p-value < 0.05), the period of service as VHVs (p-value < 0.05), occupation (p-value < 0.05), anc1 social supports from health personnel and other concerned agencies (p-value < 0.01)en_US
dc.contributor.coadvisorสมโภช รติโอฬารth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98020.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons