Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8165
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคมth_TH
dc.contributor.authorโชคชัชกาญ ราชฟูth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-25T06:47:59Z-
dc.date.available2023-07-25T06:47:59Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8165en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพและปัญหาของสำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ (2) วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของสำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ และ (3) เสนอแนะยุทธศาสตร์ด้านการประชาสัมพันธ์ของสำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ศึกษาจำนวน 20 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ ณ สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ทั้งหมด จำนวน 7 คน และบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ ณ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยจังหวัดแพร่ทั้งหมด จำนวน 13 คน เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบบันทึกการสังเกตแบบมีส่วนร่วม แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้าง การสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์เนื้อหาแบบสามเส้า พรรณนาโดยวิธีการสรุปอุปนัย ผลการศึกษาพบว่า (1) สภาพการประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ที่พบคือ รัฐบาลและจังหวัดแพร่ให้ความสำคัญกับการประชาสัมพันธ์เป็นอย่างมาก โดยให้ดำเนินการสร้างการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของรัฐทุกรูปแบบอย่างถูกต้อง ทั่วถึง ต่อเนื่อง และรวดเร็ว ปัจจุบันสำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ ได้ผลิตสื่อหลากหลายรูปแบบ ใช้ช่องทางสื่อออนไลน์ และสร้างเครือข่ายประชาสัมพันธ์เป็นหลัก แต่ยังไม่มีการวางแผนยุทธศาสตร์และเป้าหมายที่ชัดเจน (2) สภาพแวดล้อมภายในที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ประกอบด้วย กลยุทธ์ โครงสร้างองค์การ สไตล์การทำงานของผู้บริหารระบบงาน บุคลากรในหน่วยงาน ทักษะ ค่านิยมองค์การ ส่วนสภาพแวดล้อมภายนอก ประกอบด้วย นโยบายของรัฐบาล ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี ปัญหาที่พบ คือ องค์การยังไม่มีระบบพัฒนายุทธศาสตร์ที่ชัดเจน และปรับตัวไม่ทันตามสื่อสมัยใหม่ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และ (3) เสนอแนะประเด็นยุทธศาสตร์ของสำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ในอนาคต 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาศูนย์กลางข้อมูลข่าวสารการประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างศักยภาพการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่ยอมรับของสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาเครือข่ายการประชาสัมพันธ์อย่างยั่งยืนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่--การประชาสัมพันธ์th_TH
dc.subjectเงินทุนth_TH
dc.subjectการพัฒนาองค์การ--ไทย--แพร่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการพัฒนายุทธศาสตร์สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่th_TH
dc.title.alternativeStrategy Development of Phrae Provincial Public Relations Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposed of this study were (1) to study the conditions and problems of the Phrae Provincial Public Relations Office (2) to analyze the external and internal environments of the Phrae Provincial Public Relations Office, and (3) to recommend public relations strategies of the Phrae Provincial Public Relations Office. This study was a qualitative research. The population was 20 informants and was divided into 2 groups: there were 7 informants working at the Phrae Provincial Public Relations Office and 13 informants working at the Thai Broadcasting Station of Phrae Province. Data were collected from the total population. The research tools used for data collection were observation form, an in-depth, structured interview form, and focus group record form. The data analysis was done through triangulation content analysis and descriptive by inductive summary method. The results of the study found that (1) the condition of the Phrae Provincial public relations work was found that the Government and Phrae Province put and emphasis on public relations work very seriously in building public acknowledgement and communicate in all forms of public relations correctly, thoroughly, continuously and quickly. Currently, the Phrae Provincial Public Relations Office produced a variety of media mainly by using online media channels and building public relations network (2) the internal environmental factors involved in strategic development comprised of strategies, organizational structure, working style of administrators, work systems, personnel, working skills and organizational values. The external environmental factors consisted of government policy, economic condition, social condition and technology. Problems were the organization had no clearly system on strategic development and the adaption to modern and changing technology devices, and (3) the recommended strategies in the future would be formulate with 3 strategic issues as follows: Strategy 1: development of provincial information and public relations center, Strategy 2: building public relations capacity to be socially acceptance and Strategy 3: developing a sustainable public relations network.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
164024.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons