Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8167
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัทนาวดี ศรีสวัสดิ์, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-25T07:01:21Z-
dc.date.available2023-07-25T07:01:21Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8167-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการบริหารตามแนวทางการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีของเทศบาลตำบลนครไทยและเทศบาลตำบลบ้านแยง อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก (2) เปรียบเทียบการบริหารตามแนวทางการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีระหว่างเทศบาลตำบลนครไทยกับเทศบาลตำบลบ้านแยงอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก (3) ปัญหาและเสนอแนวทางการสร้างเสริมการบริหารตามแนวทางการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีของเทศบาลตำบลนตรไทยและเทศบาลตำบลบ้านแยง อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลกประชากรที่ใช้ในศึกษา คือ พนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจที่ปฏิบัติงานอยู่ในสังกัดเทศบาลตำบลนครไทย จำนวน 53 คน และเทศบาลตำบลบ้านแยง จำนวน 21 คน รวมทั้งสิ้น 74 คน โดยใช้แบบสอบถามที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทคสอบค่าที ผลการศึกษา พบว่า (1) การบริหารตามหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีของเทศบาลตำบลนครไทยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยการบริหารตามหลักนิติธรรมมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และการบริหารตามหลักความคุ้มค่ามีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ส่วนการบริหารตามหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีของเทศบาลตำบลบ้านแยง ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเช่นกัน โดยการบริหารตามหลักคุณธรรมมีค่าเฉลี่ยสูงสุดสุด ขณะที่การบริหารตามหลักนิติธรรมมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (2) เมื่อเปรียบเทียบการบริหารตามหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีของเทศบาลตำบลนครไทยและเทศบาลตำบลบ้านแยง ในภาพรวมพบว่า มีความเตกต่างกันอย่างมีนัยสำตัญที่ระดับ 0.05 (3) ปัญหาในการบริหารตามหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ที่เทศบาลตำบลนครไทยควรแก้ไขเป็นอันตับแรก ได้แก่ ปัญหาการบริหารตามหลักความโปร่งใสสำหรับเทศบาลตำบลบ้านแยงปัญหาในการบริหารตามหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีที่สมควรแก้ไขเป็นอันดับแรกได้แก่ ปัญหาการบริหารตามหลักความคุ้มค่า ข้อเสนอแนะที่สำคัญ ได้แก่ เทศบาลตำบลนครไทยควรบริหารตามหลักความโปร่งใสให้มากขึ้น โดยเฉพาะในกระบวนการพิจารณาความดีความชอบประจำปี ควรเป็นไปตามระบบ คุณธรรมตามระบบเปิด นำเครื่องมือที่ทันสมัยมาใช้ แต่งตั้งพนักงานแต่ละกอง/สำนักเข้าไปมีส่วนร่วม ประกาศ ผลการประเมินอย่างเปิดเผยและเปิดโอกาสให้พนักงานได้ใต้แย้งหรือคัดค้าน ส่วนเทศบาลตำบลบ้านแยงควรตั้ง คณะกรรมการดูแลตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณให้คุ้มค่า และควรจัดให้เจ้าหน้าที่ได้รับการฝึกอบรมด้านกฎหมายและระเบียบต่างๆ รวมทั้งให้ความรู้ค้านกฎหมายแก่ชุมชนเพื่อเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนในการตรวจสอบการปฏิบัติงานของเทศบาล นอกจากนั้นควรยึดหลัก "ไม่มีความผิดและไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย" เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเทศบาลตำบลนครไทย--การบริหารth_TH
dc.subjectเทศบาลตำบลบ้านแยง--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการบริหารตามแนวทางการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีของเทศบาลตำบลนครไทยและเทศบาลตำบลบ้านแยง อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeThe administration in accordance with good governance principles of Nakhonthai and Ban Yaeng municipalities, Nakhonthai District, Phitsanulok Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_139446.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons