Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/818
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวภา ปิ่นทุพันธ์th_TH
dc.contributor.authorนพดล ขยันการนาวีth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T05:44:27Z-
dc.date.available2022-08-20T05:44:27Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/818-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยด้านลักษณะส่วนบุคคลและภาระงาน (2) ปัจจัยด้านการบริหารทรัพยากรสาธารณสุข (3) ปัจจัยด้านความพึงพอใจในงานที่มีความสัมพันธ์กับ และ (4) ผลการปฏิบัติงานของหัวหน้าสถานีอนามัยโดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางในผู้ทำหน้าที่หัวหน้าสถานีอนามัยทุกคนในจังหวัดอุทัยธานี จำนวน 90 คน เครึ่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบให้ข้อมูลตามความเป็นจริงเกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคลและภาระงาน และแบบมาตราส่วนประมาณค่าให้ประเมินตนเองต่อปัจจัยด้านการบริหารทรัพยากรสาธารณสุขปัจจัยจูงใจและปัจจัยคํ้าจุนของปัจจัยด้านความพึงพอใจในงาน ซึ่งมีค่าความเที่ยง 0.95 0.89 และ 0.87 ตามลำดับ และแบบบันทึกคะแนนผลการปฏิบัติงานของสถานีอนามัยในรอบปีงบประมาณ 2550 การเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการ โดยผ่านทางสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และได้แบบสอบถามกลับคืนร้อยละ 100 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา แสดงการแจกแจงความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ยของข้อมูล และใช้การทดสอบไคว์-สแคว์ หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ศึกษากับผลการปฏิบัติงาน ผลการวิจัยพบว่า (1) หัวหน้าสถานีอนามัยส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (61.1%) อายุเฉลี่ย 41.7 ปี สถานภาพสมรสคู่ (73.3%) จบปริญญาตรี (70%) อายุราชการเฉลี่ย 20.1 ปี ดำรงตำแหน่งเฉลี่ย 8.9 ปี และเคยได้รับการอบรมด้านการบริหาร (54.4%) จำนวนเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเฉลี่ย 2.6 คน และจำนวนอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านเฉลี่ย 22.5 คน (2) หัวหน้าสถานีอนามัยส่วนใหญ่มีความรู้ความสามารถด้านการบริหารทรัพยากรโดยรวมและรายด้านโดยเฉลี่ย ในระดับมาก แต่ได้รับการสนับสนุนและติดตามทรัพยากรด้านอื่น ๆ (ยกเว้นด้านเวชกัณฑ์) โดยเฉลี่ยในระดับปานกลาง (3) หัวหน้าสถานีอนามัยส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในงานโดยรวมเฉลี่ยในระดับมาก โดยมีปัจจัยจูงใจระดับมาก จากการได้รับการยอมรับนับถือ ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ และความสำเร็จในงาน และในระดับปานกลางจากความก้าวหน้าในงาน ได้รับปัจจัยคํ้าจุนในระดับมาก ในด้านการปกครองบังคับบัญชา นโยบายและการบริหาร และความร่วมมือจากประชาชนและในระดับปานกลาง จากสัมพันธภาพในการทำงาน สภาพการทำงานและความมั่นคงในงาน (4) หัวหน้า สถานีอนามัย ร้อยละ 42.2 มีผลการปฏิบัติงานในระดับดี ผลการทดสอบไคว์-สแคว์ พบว่า หัวหน้าสถานีอนามัยที่มีความแตกต่างกัน ตามระดับการศึกษา ความรู้ความสามารถในการบริหารทรัพยากร การได้รับการยอมรับนับถือและมีความสำเร็จในงาน และได้รับการปกครองบังคับบัญชา นโยบายและการบริหาร และความร่วมมือจากประชาชน จะมีผลการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ข้อค้นพบจากงานวิจัยเกี่ยวกับการได้รับปัจจัยค้ำจุนในระดับปานกลาง บอกถึงความต้องการได้รับการ เอาใจใส่ดูแลมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับสภาพการทำงาน ผลตอบแทน และความมั่นคงในงาน เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน อันจะส่งเสริมต่อความพึงพอใจในงานของหัวหน้าสถานีอนามัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --วิทยานิพนธth_TH
dc.subjectสถานีอนามัย--การบริหารth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานของหัวหน้าสถานีอนามัยจังหวัดอุทัยธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to performance of chiefs of health centers in Uthaithance Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: 1) factors of personal characteristics and workload; 2) factor of health resource management; 3) factor of work satisfaction; and 4) relationship of the studied factors with performance of chiefs of health centers (CHC). This study was a cross-sectional survey research among all 90 CHC in Uthaithanee Province. The instruments employed were: 1) a questionnaire for colleting real data of personal characteristics and workload; 2) a rating-scale self-evaluation form of health resource management, motivating and supporting factors on work satisfaction with reliability values of 0.95,0.89, and 0.87, respectively; and 3) a performance score recording form of all health centers in the fiscal year 2007. Data were collected via the District Public Health Office with 100% of questionnaire returning rate. Data were analyzed as descriptive statistics and Chi-square test. The findings of this research were that: 1) most CHC were male with average age of 41.43 years, married, bachelor degree, average work duration of 20.1 years, average present position duration of 8.9 years, and experienced of management training. There were average 2.6 personnel and 22.5 village health volunteers performing in each health centers; 2) most CHC had overall and individual aspect of knowledge and capability on health resource management at the high level whereas a reception of resource support and other monitors, in an exception of medical appliances, was at the moderate level; 3) most CHC had overall work satisfaction at the high level by which motivating factor was at the high factor through reception of respectfulness, job characteristics, responsibility, and work success, and at the moderate level through work progress. Reception of supporting factor was at the high level through command, policy and management, and public co-operation, and at the moderate level through work relationship, work condition, and work security; and 4) about 42.2 % of CHC had performance at the good level. CHC with different education level, knowledge and capability on health resource management, reception of respectfulness and work success, command, policy and management, and public co-operation had different performance at the statistically significant level of .05. This research finding of a moderate level of supporting factor reception indicated a need for more supports, especially on work condition, payment, and work security facilitating a positive work atmosphere in order to promote CHC work satisfactionen_US
dc.contributor.coadvisorขวัญชัย วิศิษฐานนท์th_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
110359.pdfเอกสารฉบับเต็ม5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons