Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/819
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฎ ลีดส์th_TH
dc.contributor.authorโกสินทร์ มีพรบูชา, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T05:51:33Z-
dc.date.available2022-08-20T05:51:33Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/819en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการฟ้องคดีอาญาโดยผู้เสียหายมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และหลักเกณฑ์ทางกฎหมายเกี่ยวกับระบบการดำเนินคดีอาญา ทฤษฎีกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ทฤษฎีการลงโทษทางอาญา หลักการดำเนินคดีอาญา ทฤษฎีเงื่อนไขแห่งอำนาจฟ้องและทฤษฎีเงื่อนไขระงับคดี เพื่อค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหากระบวนการยุติธรรมทางอาญาในประเทศไทย ซึ่งเกิดจากการที่ผู้เสียหายมีสิทธิฟ้องคดีอาญาได้อย่างกว้างขวางโดยปราศจากขอบเขตและเงื่อนไขจำกัด การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมายโดยการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเอกสาร โดยวิธีการ วิเคราะห์เปรียบเทียบกระบวนการยุติธรรมทางอาญา และรูปแบบการฟ้องคดีอาญาจาก แนวคิด ทฤษฎี หลักเกณฑ์ และบทบญัญัติแห่งกฎหมายรวมทั้งความเห็นทางกฎหมายของประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และประเทศองกฤษ ผลการวิจัยพบว่าการให้อํานาจผู้เสียหายมีสิทธิฟ้องคดีอาญาได้อย่างกว้างขวางโดยปราศจากขอบเขตและเงื่อนไขในประเทศไทยได้ก่อให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาหลายประการ ดังนั้นจึงเห็นควรแก้ไขเพื่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพื่อปรับปรุงสิทธิการฟ้อง คดีอาญาของผู้เสียหายให้อยู่ภายใต้ขอบเขตและเงื่่อนไขที่จํากัด โดยนํารูปแบบของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีมาเป็นต้นแบบ ดังนี้ 1) กำหนดขอบเขตการฟ้องคดีอาญาของผู้เสียหายไวเฉพาะคดี ความผิดลหุโทษ หรือความผิดเล็กน้อยที่มีอัตราโทษไม่เกินกว่าความผิดลหุโทษ และคดีความผิดอาญาต่อส่วนตัว ซึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้ เท่านั้น 2) กำหนดเงื่อนไขการฟ้องคดีอาญาของผู้เสียหายโดยการ ห้ามไม่ให้นําคดีอาญามาฟ้องต่อศาลจนกว่าจะได้ดําเนินการในขั้นตอนไกล่เกลี่ยประนีประนอมยอมความ โดยมีพนักงานอัยการทำหน้าที่่เป็นคนกลาง และพนักงานอัยการได้พิจารณาแล้วเห็นควรอนุญาตให้ ผู้เสียหายฟ้องคดีอาญาเรื่องดังกล่าวต่อศาลได้ด้วยตนเอง ภายหลังจากที่คู่กรณีไม่สามารถตกลงกันได้ 3) กำหนดหลักเกณฑ์การฟ้องคดีอาญาของผู้เสียหายไว้เฉพาะในคดีที่พนักงานอัยการ มีคําสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี ผู้กระทำผิดแล้วเท่าน้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการฟ้องth_TH
dc.subjectผู้เสียหายth_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญาth_TH
dc.titleการฟ้องคดีอาญาโดยผู้เสียหายth_TH
dc.title.alternativeThe criminal prosecution by injured personth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeResearch on “the Criminal Prosecution by Injured Person” aims to study the theories and principles of law relating to the criminal proceedings criminal justice theory, theory of criminal punishment principles of criminal proceedings, theory of authority to sue, and theory of settlement in order to find the solutions of criminal justice in Thailand. However, the injured person has the right to proceed criminal charges without limited conditions. This research is a legal research by qualitative research by comparative analysis of criminal justice, the theories of principles of criminal law and a legal opinion of the Frence, Germany and England. The research found that the injured party has the right in criminal charges widely caused of the practical problems in criminal justice system. This is to amendments the Criminal Procedure Code in order to improve the rights of injured person on criminal prosecution. The German system may be approached as the followings; 1) the injured person may submit the cases to the court only minor penalties or petty offenses and compoundable cases; 2) determine the conditions of the injured person by prosecution could not bring criminal cases to the court as long as he/she has taken steps to mediate a settlement with the prosecutor acting as an intermediary. In case of the failure of settlement, the prosecutor has considered relevant ground and allow the injured person bring the case to court; 3) determining the criteria of criminal charges of injured person in case of the prosecutor has an order of refusal to submit the case to the courten_US
dc.contributor.coadvisorจิรัช ชูเวชth_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib139392.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons