Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8203
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปรีชา คัมภีรปกรณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | เจริญ จันท่าจีน, 2488- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-26T02:49:57Z | - |
dc.date.available | 2023-07-26T02:49:57Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8203 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))-- มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, 2539 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร บรรยากาศ องค์การ และความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารกับบรรยากาศองค์การ ใน เพื่อนำผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงพฤติกรรมการบริหารและบรรยากาศองค์การ โดยผู้วิจัยได้ปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือวิจัยจากแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหาร LBDQ ของฮอลพิน (Halpin) และแบบสอบถามเกี่ยวกับบรรยากาศองค์การ RICQ (Form B) ของลิทวินและสตริงเกอร์ (Litwin and Stringer) โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างในศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพจำนวน 414 คน ซึ่งแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้บริหาร 83 คน กลุ่มผู้สอน 106 คน และกลุ่มผู้สนับสนุนการสอน 225 คน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศหญิงร้อยละ 56.04 มีวุฒิการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีร้อยละ 39.37 และมีประสบการณ์การทำงานระหว่าง 11-15 ปี ร้อยละ 32.37 ผลการวิจัยพบว่าความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารในภาพรวมทั้ง ด้านกิจสัมพันธ์และด้านมิตรสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง กลุ่มผู้บริหารมีความเห็นว่าพฤติกรรม ด้านกิจสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง กลุ่มผู้สอนมีความเห็นว่าพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารด้านกิจสัมพันธ์อยู่ในระดับค่อนข้างสูงส่วนด้านมิตรสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง กลุ่มผู้สนับสนุนการสอนมีความเห็นว่าพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารทั้งด้านกิจสัมพันธ์และด้านมิตรสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลางศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่นการบริหารของผู้บริหารด้านมิตรสัมพันธ์อยู่ในระดับค่อนข้างสูงอยู่ในระดับปานกลางบุคลากรที่มีตำแหน่งและวุฒิการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมการ-บริหารของผู้บริหารแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สำหรับบุคลากรที่แตกต่างกันทางด้านเพศและประสบการณ์การทำงานมีความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ความคิดเห็นเกี่ยวกับบรรยากาศองค์การโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีทั้ง 9 มิติ โดยเฉพาะ มิติความจงรักภักดีต่อสถาบัน มิติความเสี่ยงภัย มิติรางวัล/ผลตอบแทน และกลุ่มผู้บริหารมีความ- เห็นว่าบรรยากาศองค์การอยู่ในระดับดีโดยเฉพาะมิติความเสี่ยงภัย มิติความจงรักภักดีต่อสถาบัน มิติสนับสนุนการปฏิบัติงาน กลุ่มผู้สอนมีความเห็นว่าบรรยากาศองค์การอยู่ในระดับดีโดยเฉพาะ มิติความจงรักภักดีต่อสถาบัน มิติความเสี่ยง มิติมาตรฐานการปฏิบัติงาน กลุ่มผู้สนับสนุนการสอน มีความเห็นว่าบรรยากาศองค์การอยู่ในระดับดีโดยเฉพาะมิติความเสี่ยงภัย มิติความจงรักภักดี ต่อสถาบัน และมิติรางวัล/ผลตอบแทนบุคลากรที่มีตำแหน่ง เพศ และวุฒิการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบรรยากาศองค์การไม่แตกต่างกันอย่างนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แต่บุคลากรที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบรรยากาศองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01โดยเฉพาะบุคลากรที่มีประสบการณ์การทำงานระหว่าง 6-10 ปี กับมากว่า 15 ปี ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้บริหารกับบรรยากาศองค์การทั้งภาพรวมและรายมิติ เมื่อศึกษาในรายละเอียดพบว่าพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารด้านกิจสัมพันธ์มีความสัมพันธ์กับบรรยากาศองค์การมิติความจงรักภักดีต่อสถาบัน มิติการสนับสนุนมิติความเสี่ยงภัยอยู่ในระดับปานกลาง ด้านมิตรสัมพันธ์มีความสัมพันธ์กับบรรยากาศองค์การมิติการสนับสนุน มิติความจงรักภักดีต่อสถาบัน และมิติความอบอุ่น อยู่ในระดับปานกลางเช่นกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหาร | th_TH |
dc.subject | การบริหารองค์การ | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร กับบรรยากาศองค์การ กรณีศึกษาศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น | th_TH |
dc.title.alternative | Administrators' behaviors and the organizational climate : the case study of the Health Science Center, Khon Kaen University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to study administrators' behaviors, organization climate and the relationship between these two factors. Data was collected using a questionnaire adopted from the Leader Behavior Description Questionnaire (LBDQ) by Halpin, and the Revised or Improved Climate Questionnaire (RICQ) form B by Litwin and Stringer. A total of 419 staff of Khon Kaen University were studied. There were 88 administrators, 106 lecturers and 225 supporting staff. Most of them (56 %) were women with educational levels higher than a bachelor's degree (39 %) and had been in the workforce for 11-15 years (32 %). The results indicated that the overall opinions on administrators' behaviors in terms of both initiating structure and consideration were at a moderate level. Administrative staff felt that administrators' behaviors were high on consideration but moderate on initiating structure. Academic staff had the opposite opinion, whereby the administrators' behaviors were high in terms of initiating structure and moderate in terms of consideration. Supporting staff were of the opinion that both administrators' behaviors were at a moderate level. Statistically, there was a significant difference of opinion (p < 0.01) among people with different positions and educational background, but no difference was found between people of different sex and work experiences. Opinions about organizational climate were good in 9 aspects, especially in relation to loyalty to the organization, risk, and reward. Administrative staff thought that there was a good climate, especially for risk, loyalty and work support. Academic staff thought that there was a good climate for loyalty, risk and work standards. Supporting staff also thought that there was a good climate for risk, royalty and reward. There was no statistical difference (p > 0.01) of opinion regarding organization climate among people with different positions, sex and educational background. However, statistically, people with different work experiences showed a significant difference of opinion (p <0.01), especially those who had work experiences between 6-10 years and more than 15 years. Relationships between administrators' behaviors and organization climate both from an overall and individual perspectives were at a moderate level. It was also found that administrators' behaviors in terms of initiating structure was related at a moderate level with the organization climate from the perspective of loyalty to the organization, support and risk. The initiating structure was also related at a moderate level with the organization climate from the perspective of support, loyalty to the organization and warmth. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วรรณา โพธิ์น้อย | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_47525.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License