Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8209
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิระสุข สุขสวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | มนทิรา จันดาหาร, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-26T03:13:14Z | - |
dc.date.available | 2023-07-26T03:13:14Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8209 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสุขของผู้สูงอายุในชุมชน ชนบท อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย และ (2) ศึกษาประสบการณ์ความสุขจากการพึ่งตนเองในบั่นปลาย ชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธีประเภทอธิบายตามลำดับโดยในระยะที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนชนบท อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย พ.ศ. 2558 จำนวน 310 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามข้อมูล ส่วนบุคคล และแบบวัดความสุข มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .92 สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนในระยะที่ 2 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ ในชุมชนชนบท พื้นที่อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย ในช่วงปีพ.ศ. 2558 โดยเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขื้นไปอาศัยอยู่ในชุมชนชนบทอำเภอภูเรือ จังหวัดเลย มีคะแนนความสุขอยู่ในระดับสูง สามารถสื่อสารได้ดีและยินดีเข้าร่วมการวิจัยจำนวนทั้งหมด 8 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ สัมภาษณ์เชิงลึกแบบรายบุคคลโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลทำการวิเคราะห์บริบท และเนื้อหา โดยถอดรหัสข้อความและจัดกลุ่มข้อมูลตามลักษณะที่มีความหมาย คล้ายคลึงกันให้เป็นหมวดหมู่ จากนั้นจัดเป็นประเด็นย่อยและสรุปเป็นประเด็นหลักผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้สูงอายุมีคะแนนความสุขเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง และ 2) ความสุขจากการพึ่งตนเองในบั้นปลายชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย พบ 4ประเด็นหลัก คือ (1) สุขที่พึ่งตนเองได้ (2) การได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว (3) การได้รับการช่วยเหลือจากสังคม และ (4) สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการยังชีพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ--การดำเนินชีวิต | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ--การดูแล--ไทย--เลย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา | th_TH |
dc.title | ความสุขจากการพึ่งตนเองในบั้นปลายชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย | th_TH |
dc.title.alternative | Happiness obtained from self-reliance practice in the latest stage of life of elderly people in rural communities of Phu Ruea District, Loei Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | people in rural communities of Phu Ruea district, Loei province; and (2) to study the happiness experiences obtained from self-reliance practice in the latest stage of life of elderly people in rural communities of Phu Ruea district, Loei province. This research was a mixed-method study with the use of successive explanation method. The first stage was the quantitative study. The research sample consisted of 310 elderly people randomly selected from the population of 1,334 elderly people residing in rural communities of Phu Ruea district, Loei province during the year 2015. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s sample size formula. Data were collected with the use of a questionnaire containing question items on personal background data and a happiness assessment scale, with the total reliability coefficient of .92. The second stage was a qualitative study. The main informants were eight elderly people, aged 60 years or over, residing in rural communities of Phu Ruea district, Loei province, having happiness scores at the high level, being able to communicate well, and willing to participate in this research study. In-depth interviews were employed as the data collecting method with the use of a semi-structured interview form. Data were analyzed with context and content analyses. The analysis process included the decoding of statements and grouping them based on similarity of their meanings, then categorizing them into sub-issues, and finally making conclusions of main issues. Research findings showed that the elderly people had happiness scores at the moderate level (Mean = 86.93; SD = 1.17). Also, regarding happiness obtained from self-reliance practice in the latest stage of life of elderly people in rural communities of Phu Ruea district, Loei province, the following four main issues were found: (1) being happy because of the ability to rely on oneself; (2) receiving the supports from their own families; (3) receiving helps from the society; and (4) living in the life facilitating environment. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_153244.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License