Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/821
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลาวัลย์ หอนพรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | ตระการ ด่านกุล, 2506- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T06:01:53Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T06:01:53Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/821 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานิติวิธีกฎหมายระบบคอมมอนลอว์ ซีวิลลอว์ และหลักการของกฎหมายอาญา ศึกษาการปรับใช้กฎหมายที่เกี่ยวกับความรับผิดในทางอาญาของนิติบุคคลของศาลภายใต้กฎหมายระบบคอมมอนลอว์ ได้แก่ ประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ระบบซีวิลลอว์ ประเทศฝรั่งเศสและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ศึกษาการปรับใช้กฎหมายที่เกี่ยวกับความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคลของศาลไทย ศึกษาสภาพบังคับทางอาญาสําหรับนิติบุคคลของประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา ประเทศฝรั่งเศส สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี รวมทั้งประเทศอื่นๆ ในภาคพื้นยุโรป และ ประเทศไทย และ เสนอแนะผลการศึกษาในการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาเพื่อให้ครอบคลุมถึงนิติบุคคลและมีสภาพบังคับทางอาญาเป็นการเฉพาะสําหรับนิติบุคคล วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิจัยทางเอกสาร โดยรวบรวมค้นคว้าข้อมูล จากหนังสือ วารสาร บทความ รายงานทางกฎหมาย คําพิพากษาของศาลฎีกา ข้อมูลจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องของไทยและต่างประเทศ รวมถึงสารนิพนธ์และวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนตัวบทกฎหมายทั้งของไทยและต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า การวินิจฉัยความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคลของศาลไทยยังขัดกับหลักความชอบของกฎหมายอาญา และไม่สอดคล้องกับนิติวิธีกฎหมายระบบซีวิลลอว์ และสภาพบังคับทางอาญาตามมาตรา 18 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ยังไม่เหมาะสมที่จะนํามาใช้ลงโทษนิติบุคคล ข้อเสนอแนะจากงานวิทยานิพนธ์นี้คือ ควรมีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ในส่วนภาค 1 บทบัญญัติทั่วไป ลักษณะที่ 1 บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดทั่วไป หมวด 1 บทนิยาม เพื่อให้คํานิยามหรือความหมายของคําว่า “ผู้ใด” และ “การแสดงเจตนา” ครอบคลุมถึงนิติบุคคล และ หมวด 3 โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย ส่วนที่ 1 โทษ เพื่อให้มีสภาพบังคับทางอาญาเป็นการเฉพาะสําหรับ นิติบุคคล | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.134 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล | th_TH |
dc.subject | การบังคับใช้กฎหมาย--ไทย | th_TH |
dc.title | การปรับใช้กฎหมายของศาลไทยในการวินิจฉัยความรับผิดชอบทางอาญาของนิติบุคคล | th_TH |
dc.title.alternative | The application of law of Thai courts in criminal liability of juristic persons | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2017.134 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.134 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this thesis are to Study the concept of jurisprudence method of common law and civil law and the principle of criminal law. Study the application of law involves with criminal liability of juristic persons under Common Law of England and United States of America and Civil Law of France and Germany. Study the application of law involves with criminal liability of juristic persons of Thai court. Study criminal sanctions of juristic persons of England, United State of America, France, Germany and other countries in Continental Europe as well as Thailand Put forward an ideal and findings from this thesis to amend and improve Thai Criminal Code. This thesis is quality research comprises documentary search, collecting data from books, journals, articles, law reports, supreme court judgements, information gathering from the internet or related websites both local and international, independent study, thesis and local law (Thai Criminal Code). The findings of this thesis are: The application of law of Thai court for juristic person criminal liability has not been in line with the jurisprudence method of civil law system and also the principle of criminal law. The criminal sanctions under the section 18 of Thai Criminal Code are not suitable for juristic persons. This thesis suggests that Thai Criminal Code should be amended and improved by the Legislature by adding the definition or the meaning of the words or phrases “whoever” and “intention expression” to cover the juristic persons as well as adding section 18/1 to stipulate the specific criminal sanctions for juristic persons. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ภาณุมาศ ขัดเงางาม | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib158656.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License